ส่วนที่ 1 สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานองค์การบริหารส่วนตำบลพิชัย
1.
ที่ตั้งและอาณาเขต
องค์การบริหารส่วนตำบลพิชัย ตั้งอยู่บนอาคารเลขที่ 444
ฝั่งตะวันออกของถนนราษฎร์บูรณะ
หมู่ที่ 7 ตำบลพิชัย
อำเภอเมืองลำปาง จังหวัดลำปาง อยู่ห่างจากอำเภอเมืองลำปางไปทางทิศตะวันออกประมาณ 2
กิโลเมตร
เนื้อที่
องค์การบริหารส่วนตำบลพิชัยมีพื้นที่ประมาณ 72
ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 45,000
ไร่
ลักษณะพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบเชิงเขา
มีแม่น้ำวังไหล่ผ่านทางทิศตะวันตกตามแนวเขตของตำบลพิชัยจากทิศเหนือ ไปยังทิศใต้
ซึ่งเกษตรกรได้อาศัยแหล่งน้ำทำการเกษตร
อาณาเขต
ทิศเหนือ ติดต่อ ตำบลบ้านเสด็จ
ทิศใต้ ติดต่อ เทศบาลเมืองเขลางค์นคร
ทิศตะวันออก ติดต่อ อำเภอแม่เมาะ และเขตป่าสงวนแห่งชาติ
ทิศตะวันตก ติดต่อ ตำบลทุกฝ่ายและตำบลต้นธงชัย
2. สภาพการเมืองการปกครอง
2.1 การปกครอง
องค์การบริหารส่วนตำบลพิชัย แบ่งการปกครองออกเป็น 11
หมู่บ้าน คือ จำนวนประชากร 6,937 แยกเป็นชาย 3,759 หญิง 3,178
รายชื่อกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน
ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลพิชัย
1. นายธฤดล จันทร์วงศ์ ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 1
บ้านพิชัย
2. นายประพรรณ์ เป็งตาวงค์ ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 2
บ้านสามัคคี
3.
นายส่งศักดิ์ โพธิสมบัติ กำนันตำบลพิชัย หมู่ที่ 5
บ้านต้นต้อง
4. นายวิรันดร์ ต๊ะสูง ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่
6 บ้านปงวัง
5. นายบุญฉลอง เทพรักษ์ ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 7
บ้านไร่พัฒนา
6. นายเจริญ กิตตะวงค์ ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 8 บ้านทรายใต้
7. นายจรูญ วรรณรัตน์ ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 10 บ้านไร่ศิลาทอง
8. นายณรินทร์ ยอดอินต๊ะ ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 11
บ้านดอนมูล
9.
นายสมเกียรติ ยศปินตา ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 13
บ้านใหม่พัฒนา
10.นายสมสิทธิ
มีศรี ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 16
บ้านวังชัยพัฒนา
11.นายปฏิภัทร
ปองเกียรติคุณ ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 17 บ้านมิ่งมงคล
สภาพทางเศรษฐกิจ
1.
การประกอบอาชีพของประชากรส่วนใหญ่
ประกอบด้วย
- เกษตรกรรม
- รับจ้างทั่วไป
- ค้าขาย
- รับราชการ
- พนักงานรัฐวิสาหกิจ
สถานภาพทางสังคม
ภูมิปัญญา/แหล่งเรียนรู้
ภูมปัญญาท้องถิ่น
1. การปั้นหม้อต้มน้ำ
(หม้อสาวเล็ก) คือนางสมพร จันทรา
บ้านเลขที่ 41 หมู่ 3 ใช้ในครัวเรือนและจำหน่าย
2. การปั้นหม้อแกงขนาดใหญ่ คือ นางสม
เขียวงาม บ้านเลขที่ 42 หมู่ 3 ใช้ในครัวเรือนและจำหน่าย
3. การจักสานตระแกรงร่อนทราย คือ
นายยืน เครือสาร บ้านที่ 46/1 หมู่ 3 ใช้ในครัวเรือนและจำหน่าย
4. การจักสานกระบุง ที่ซาวข้าว
ตุ้ม คือ
นายสมนึก คุณหวัง บ้านเลขที่ 130 หมู่ 11 นายยืน ราชเครือ
บ้านเลขที่ 105 หมู่ 11 นายแก้ว ราชเครือ
บ้านเลขที่ 107 หมู่ 11 นายอ้าย คำอินต๊ะ
บ้านเลขที่ 123 หมู่ 11 ใช้ในครัวเรือนและจำหน่ายในชุมชน
5 การทำผลิตภัณฑ์จากกะลามะพร้าว คือ
นายยิ่ง โกละวงค์ บ้านเลขที่ 117 หมู่ 11 ใช้ในการตกแต่งบ้านและสำนักงาน
และจำหน่าย
แหล่งเรียนรู้ในชุมชน
1.มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาพื้นที่ลำปางเขต
1 ตั้งอยู่หมู่ 17 ตำบลพิชัย เป็นแหล่งศึกษาค้นคว้าหาความรู้ในด้านต่าง ๆ เป็นศูนย์แลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านอาชีพของชุมชน
2. สถานีอนามัยบ้านต้นมื่น ตั้งอยู่
หมู่ 14 ตำบลพิชัย ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเป็นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านต้นมื่น
เป็นแหล่งศึกษาหาความรู้ในด้านสุขภาพ
และเป็นสถานที่ศึกษาดูงานของหน่วยงานด้านสุขภาพ เป็นสถานที่ฝึกงานของนักศึกษา
3. วัดม่อนพญาแช่ ตั้งอยู่ที่ตำบลพิชัย
บนเส้นทางสายลำปาง-งาว ห่างจากตัวเมือง 5
กิโลเมตร ไปตามทางหลวงหมายเลข 1 และเลี้ยวขวาตรงหลักกิโลเมตรที่
605 เข้าไปประมาณ 5 กิโลเมตร มีพระเจดีย์ตั้งอยู่บนเนินเขาที่สามารถมองเห็นทิวทัศน์ของจังหวัดลำปางได้อย่างชัดเจน
ทางวัดได้พัฒนาเป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจและร่วมกับสำนักงานป่าไม้เขตลำปางจัดให้เป็น
วนอุทยานม่อนพญาแช่ อยู่ก่อนถึงวัดม่อนพญาแช่ 1 กิโลเมตร เป็นที่ตั้งที่ทำการวนอุทยานฯ
เป็นจุดชมวิว และเพื่อเป็นการส่งเสริมการท่องเที่ยวทางอุทยานได้จัดให้มี
เส้นทางศึกษาธรรมชาติ บริเวณรอบอ่างเก็บน้ำห้วยโจ้จัดเฉพาะในช่วงฤดูฝนเท่านั้น
ระยะทาง 1 กิโลเมตร จะพบเฟริน์ชนิดต่าง
4. บ้านป่องนัก
พิพิธภัณฑ์ทหารลำปาง ตั้งอยู่บริเวณณค่ายสุรศักดิ์มนตรี
หมู่ 1 ตำบลพิชัย
เป็นสถานที่ศึกษาเกี่ยวกับ เป็นอาคารสถาปัตยกรรมที่สร้างขึ้น เมื่อปี พ.ศ.2468 โดยกรมยุทธการทหารบก และควบคุมการก่อสร้างโดย พันโทพระมหาณรงค์เรืองเดช (แปลก จุลกัณฑ์) ผู้บังคับกองพันที่ 1 กรมทหารราบที่ 17 เป็นสถาปัตยกรรมยุโรปแบบคลาสสิค สมัยกรีก ราวศตวรรษที่ 13 ผสมผสานกับสถาปัตยกรรมแบบไทย ลักษณะหน้าต่างแบบแป้นเกล็ด จำนวน 250 บาน ช่องหน้าต่างจำนวน 469
ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ชื่อ
ภูมิปัญญาท้องถิ่น
|
ความสามารถและประสบการณ์
|
ผู้รับผิดชอบ
|
1.การปั้นหม้อต้มน้ำ
|
หม้อสาวเล็ก
|
41 หมู่ 3 ต.พิชัย อ.เมือง จ.ลำปาง
|
2.การปั้นหม้อแกงขนาดใหญ่
|
หม้อแกง
|
42 หมู่ 3 ต.พิชัย อ.เมือง จ.ลำปาง
|
3.การจักสาน
|
ตระแกรงร่อนทราย
|
46/1 หมู่ 3 ต.พิชัย อ.เมือง จ.ลำปาง
|
4.การจักสาน
|
สานเข่ง
|
66/1 หมู่ 5
บ้านต้นต้อง ต.พิชัย
อ.เมือง จ.ลำปาง
|
5.การทำขนมจีน
|
การทำขนมจีน
|
25 หมู่ 5 บ้านต้นต้อง
ต.พิชัย
อ.เมือง ลำปาง
|
6.การจักสาน
|
สานกระบุง ที่ซาวข้าว ตุ้ม ไซ
|
107 หมู่ 11
บ้านดอนมูล
ต.พิชัย อ.เมือง
จ.ลำปาง
|
ชื่อ
ภูมิปัญญาท้องถิ่น
|
ความสามารถและประสบการณ์
|
ผู้รับผิดชอบ
|
7.การจักสาน
|
สานกระบุง ที่ซาวข้าว ตุ้ม ไซ
|
123 หมู่ 11 บ้านดอนมูล
ต.พิชัย อ.เมือง จ.ลำปาง
|
8.การทำผลิตภัณฑ์จากกะลามะพร้าว
|
การทำกะลามะพร้าว
|
117 หมู่ 11 บ้านดอนมูล
ต.พิชัย อ.เมือง จ.ลำปาง
|
8.1.3 แหล่งเรียนรู้อื่น
ชื่อ
แหล่งเรียนรู้
|
ประเภทแหล่งเรียนรู้
|
ผู้รับผิดชอบ
|
1. การทำเครื่องปั้นดินเผา
|
แหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่น
แหล่งเรียนรู้ด้านประติมากรรม
|
หมู่ 3 ตำบลพิชัย
อ.เมือง จ.ลำปาง
|
2. วัดม่อนเขาแก้ว
|
แหล่งเรียนรู้ในชุมชน
ให้ความรู้ด้านจิตรกรรม สถาปัตยกรรมและประติมากรรม
|
หมู่ 3 ตำบลพิชัย
อ.เมือง จ.ลำปาง
|
3. สถานีอนามัยบ้านต้นมื่น
|
สถานที่ราชการ
ให้บริการด้านสุขภาพ
|
หมู่ 14 ตำบลพิชัย
อ.เมือง จ.ลำปาง
|
4. วัดม่อนพญาแช่
|
แหล่งเรียนรู้ในชุมชน
ให้ความรู้ด้านจิตรกรรม สถาปัตยกรรมและประติมากรรม
|
หมู่ 7 ตำบลพิชัย
อ.เมือง จ.ลำปาง
|
5. องค์การบริหารส่วนตำบลพิชัย
|
สถานที่ราชการ
ให้บริการด้านการปกครอง
|
หมู่ 7 ตำบลพิชัย
อ.เมือง จ.ลำปาง
|
6. การใช้ชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
|
การปลูกผัก เลี้ยงกบ เลี้ยงปลา
เลี้ยงหมู
|
123/1 หมู่ 12 บ้านท่าเดื่อ ต.พิชัย
อ.เมือง จ.ลำปาง
|
7. การใช้ชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
|
การเลี้ยงปลา ปลูกผัก
|
73 หมู่ 6 บ้านปงวัง ต.พิชัย
อ.เมือง จ.ลำปาง
|
8 การดูแลไม้ผล
|
การดูและไม้ผลและระบบน้ำแบบต่างๆ
|
268 หมู่ 16 บ้านวังชัยพัฒนา
ต.พิชัย อ.เมือง จ.ลำปาง
|
9. การใช้ชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
|
การเลี้ยงกบ ปลูกผัก ทำปุ๋ยชีวภาพ
|
81/1 หมู่ 6 บ้านปงวัง
ต.พิชัย
อ.เมือง จ.ลำปาง
|
8.2 ภาคีเครือข่าย
ชื่อ
ภาคีเครือข่าย
|
ที่ตั้ง/ที่อยู่
|
1.องค์การบริหารส่วนตำบลพิชัย
|
หมู่ 7 ตำบลพิชัย
อ.เมือง จ.ลำปาง
|
2.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นมื่น
|
หมู่ 14 ตำบลพิชัย
อ.เมือง จ.ลำปาง
|
ภาคีเครือข่าย
|
ที่อยู่/ที่ตั้ง
|
3.มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
|
หมู่ 17 ตำบลพิชัย
อ.เมือง จ.ลำปาง
|
4.พัฒนาชุมชน
|
ที่ว่าอำเภอเมือง อ.เมือง
ลำปาง จ.ลำปาง
|
5.สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองลำปาง
|
หมู่ 13 ตำบลชมพู อ.เมือง จ.ลำปาง
|
เทศบาลเมืองพิชัย
สภาพทั่วไป
1. ลักษณะที่ตั้ง / อาณาเขต และเขตการปกครอง
ลักษณะที่ตั้ง
เทศบาลตำบลพิชัย มีสำนักงานตั้งอยู่เลขที่ 999 บ้านต้นมื่น หมู่ที่ 14 ถนนลำปาง-งาว ตำบลพิชัย อำเภอเมืองลำปาง จังหวัดลำปาง
เทศบาลตำบลพิชัย มีพื้นที่รับผิดชอบทั้งหมด 16.5 ตารางกิโลเมตร ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของอำเภอเมืองลำปางอยู่ห่างจากตัวเมืองไปประมาณ 6 กิโลเมตร พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบ อยู่ห่างจาก กทม. ตามทางหลวงแผ่นดินสายพหลโยธิน ประมาณ 614 กิโลเมตร
อาณาเขต
เทศบาลตำบลพิชัยมีอาณาเขตติต่อกับตำบลและอำเภอข้างเคียงดังนี้
ทิศเหนือ ติดต่อกับ ตำบลบ้านเสด็จ อบต.บ้านเสด็จ
ทิศใต้ ติดต่อกับ ห้วยแม่กะติ๊บ อบต.พิชัย
ทิศตะวันออก ติต่อกับ คลองชลประทาน อบต.พิชัย
ทิศตะวันตก ติดต่อกับ แม่น้ำวัง อบต.ต้นธงชัย
ประชาชน ในเขตเทศบาลพิชัยมีประชากรทั้งสิ้นจำนวน 12,973 คน เป็นชาย 6,791 คน หญิง 6,182 คน มีครัวเรือนทั้งสิ้น 5,947 หลังคาเรือน ความหนาแน่นของประชากรต่อพื้นที่โดยเฉลี่ย 742 คน/1 ตารางกิโลเมตร
จำนวนประชาชน และหลังคาเรือนสภาพเศรษฐกิจ
ประชนชนในพื้นที่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม เช่น ทำนา ทำไร่ ทำสวน ปลูกพืช เศรษฐกิจและเลี้ยงสัตว์ รับจ้าง รวมถึงอุตสาหกรรมในครัวเรือน ซึ่งเป็นอาชีพเสริม คือ การทำภาชนะเครื่องปั้นดินเผาในหมู่ที่ 3 และการทำเครื่องจักรสานเครือเถาวัลย์ในหมู่ที่ 8
วิสัยทัศน์
กศน. ตำบลพิชัยจะร่วมสร้างโอกาสทางการศึกษาให้คนในตำบลได้รับการศึกษาตลอดชีวิต อย่างทั่วถึง เท่าเทียมกันอย่างมีคุณภาพ
2.พันธกิจ
1. จัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเพื่อสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
ตลอดชีวิตตามภารกิจกศน.ตำบลให้กับกลุ่มเป้าหมาย โดยใช้กระบวนการคิดเป็นและเศรษฐกิจพอเพียง2 ส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายและชุมชน ในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย โดยกศน.ตำบลเป็นฐาน
3. ส่งเสริมและพัฒนาการนำเทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาใช้ให้เกิดประสิทธิภาพในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
4. ร่วมพัฒนาหลักสูตร มีรูปแบบจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยมีใช้สื่อและนวตกรรม มีการวัดและประเมินผลหลายรูปแบบ
5. ร่วมพัฒนาบุคลากรและระบบการบริหารจัดการ ยึดหลักธรรมาภิบาล และการมีส่วนร่วม เพื่อมุ่งจัดการศึกษาทีคุณภาพ
3. ปรัญชา
การศึกษาพัฒนาคน พัฒนางานและชุมชน บนหลักของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และปรัชญาคิดเป็น
4. คำขวัญ
บริการประทับใจ ฝักใฝ่เรียนรู้ คู่คุณธรรม
5 อัตลักษณ์
กศน.ตำบลเป็นฐานแห่งการเรียนรู้ของชุมชน
6. เอกลักษณ์
ศูนย์กลางแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตในชุมชน
บ้านหมู่ 8
การวิเคราะห์ศักยภาพของตำบลในภาพรวมของตำบล
จุดแข็ง (Stremgth)
|
จุดอ่อน (Wedkness)
|
1.
กศน.ตำบลพิชัยมีทำเลที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ที่เหมาะสม
อยู่ใกชุมชนและหน่วยงานราชการ การคมนาคมสะดวก
2.
กศน.ตำบลพิชัย มีแหล่งภูมิปัญญาในท้องถิ่นและวัฒนธรรมที่มีเอกลักษณ์โดดเด่น
3.
มีความพร้อมทางด้านสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ
4.
มีหัวหน้า กศน.ตำบล ปฏิบัติงานในพื้นที่และจัดกิจกรรมการศึกษานอกโรงเรียนในพื้นที่ตำบลพิชัย
5.
จัดสถานที่ทำงาน/เครื่องมือ/เครื่องใช้/เทคโนโลยีสนับสนุนการทำงานที่เหมาะสม
6.
กศน.ตำบลมีความสามารถในการประสานภาคีเครือข่าย ให้มีส่วนร่วมในการส่งเสริม
สนับสนุนการจัดกิจกรรมการศึกษา
7.
มีพลังองค์กรนักศึกษาสนับสนุนการจัดกิจกรรม
8.
มีอาสาสมัคร กศน.ตำบลและอาสาสมัครรักการอ่านร่วมจัดกิจกจรรมและสนับสนุน
|
1. ครูมีภาระงานหลายด้าน
และงานที่ได้รับมอบหมาย
เฉพาะกิจทำให้โอกาสที่จะทำงานให้ประสบผลสำเร็จทุกเรื่องค่อนข้างน้อย
มีผลต่อคุณภาพของผู้รับบริการ
2. ครูรับผิดชอบการสอนหลายวิชาทำให้การจัดการเรียนการสอนไม่ได้คุณภาพเท่าที่ควร
3. ขาดงบประมาณในการสนับสนุน
พัฒนาการใช้สื่อแหล่งเรียนรู้/ภูมิปัญญาในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนน้อย
4.กลุ่มเป้าหมายมีความหลากหลาย
มีความรู้พื้นฐานที่ไม่เท่ากันทำให้การจัดกิจกรรมการเรียนไม่เป็นไปตามแผนทีวางไว้
5. ขาดสื่อเทคโนโลยีด้านไอที
เครื่องพิมพ์และคอมพิวเตอร์ทำให้การปฏิบัติงานด้านเอกสารล่าช้า
6. พื้นที่รับผิดชอบมาก
งบประมาณจำกัด
7. สื่อแบบเรียนมีไม่เพียงพอกับผู้เรียน
|
การวิเคราะห์ศักยภาพของตำบลในภาพรวม
โอกาส (
|
ข้อจำกัด / ปัญหา (Threats)
|
ภายใน
1. มีกลุ่มหัตถกรรมที่เป็นจุดเด่นของตำบลทำให้สามารถพัฒนาเป็นแหล่งศูนย์กลางหัตถกรรมเครื่องปั้นดินเผาและเป็นแหล่งท่องเที่ยวให้บริการสินค้า
2. มีการปลูกพืชทางการเกษตรที่หลากหลายทำให้สินค้าขายได้หลายทาง
3. การขยายตลาดทางการค้าและการลงทุน
|
ภายใน
1. ชาวบ้านขาดความรู้ทางการเกษตรที่พอเพียง
2. ประชาชนขาดความรู้ด้านการบริหารจัดการเงินทุนและกระบวนการกระจายสินค้าสู่ตลาด
3. ประชาชนขาดความรู้ด้านการบริหารจัดการเงินทุนและกระบวนการกระจายสินค้าสู่ตลาด
|
ภายนอก
1. เป็นพื้นที่ติดเมือง และเป็นเมืองหน้าด่านอยู่ติดจังหวัด มีโอกาสเจริญเติบโต ประชาชนกระจายอยู่ที่อาศัย มีโอกาสเพิ่มขึ้นของงบประมาณสูง
และมีการเพิ่มศักยภาพแข่งขันทางการค้า OTOP
2. มีเทศบาลและอบต.คอยดูและรับทราบโอกาสความต้องการของประชาชน
3. รัฐบาลให้ความสำคัญกับการแก้ไขปัญหาทางสังคมและเศรษฐกิจในระดับชุมชนหรือครอบครัว
|
ภายนอก
1. พื้นที่รับผิดชอบมาก
ทำให้บุคลากรภาครัฐให้ความรู้ทางการเกษตร การบริการไม่เพียงพอไม่ทั่วถึง
2. มีงบประมาณในการพัฒนาจำกัด
3. สถานการณ์การเมือง
เศรษฐกิจ ทางภาครัฐทำให้งบประมาณอุดหนุนมีการเปลี่ยนแปลงบ่อย
|
สรุปการวิเคราะห์สภาพปัญหาของตำบลพิชัย
ปัญหาของตำบล
|
สาเหตุของปัญหา
|
แนวทางการแก้ไขปัญหา
|
- ปริมาณไฟฟ้าสาธารณะไม่เพียงพอ
- ถนนชำรุด
- เกิดน้ำท่วมขังในช่วงฤดูฝน
- การสัญจรภายในชุมชนไม่สะดวก
- ขาดน้ำดื่มน้ำใช้
-
คนที่มีความรู้ออกไปทำงานนอกบ้าน ทำให้ขาดแคลนคนที่มีความรู้ช่วยเหลือในการพัฒนาชุมชน
- รายได้ของคนในชุมชนไม่เพียงพอ
-
ราคาผลผลิตตกต่ำไม่มีต้นทุนในการผลิตและไม่มีตลาดรองรับสินค้าการเกษตร
|
- ขาดแคลนงบประมาณในการสนับสนุน
- เกิดน้ำเซาะในฤดูฝน
-
ไม่มีทางระบายน้ำบางหมู่บ้าน
- สะพานผ่านหมู่บ้านแคบและชำรุด
-
ประชาชนในหมู่บ้านมีน้ำดื่มน้ำใช้ไม่เพียงพอกับการขยายตัวของหมู่บ้าน
-
เนื่องจากแหล่งงานในชุมชนไม่เพียงพอกับความต้องการ
- ไม่มีอาชีพเสริมหลังฤดูกาลเก็บเกี่ยว
- ภาวะเศรษฐกิจต่ำ
- ต้นทุนการผลิตสูง
- ไม่มีแหล่งเงินทุนในการประกอบอาชีพ
- เนื่องจากกลไกของตลาด
|
-
ขอรับการสนับสนุนจากหน่วยงานต่างๆทั้งภาครัฐและ
เอกชน
-
ก่อสร้างถนนคอนกรีตตลาดยางลงลูกรังและหินคลุก
-
ก่อสร้างรางระบายน้ำ
-
ก่อสร้างสะพานข้างคลอง
- ก่อสร้างประปาหมูบ้าน
- กระตุ้นให้มีการผลิตงานในชุมชน เช่น ทางการเกษตร
-
ส่งเสริม/สนับสนุนฝึกอบรมด้านอาชีพ
-ให้ความรู้การทำบัญชี
- ของบสนับสนุนจากส่วนต่างๆ
-
ฝึกอบรม/ส่งเสริมให้ความรู้ด้านการดำเนินงานด้านการเกษตร
-
ปลูกพืชแบบผสมผสานตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
|
ปัญหาของตำบล
|
สาเหตุของปัญหา
|
แนวทางการแก้ไขปัญหา
|
- ปริมาณน้ำไม่เพียงพอกับความต้องการในการเกษตร
- ผู้สูงอายุ/ผู้ด้อยโอกาสขาดรายได้
-
ประชาชนขาดเงินทุนในการประกอบอาชีพ
-
ปัญหาน้ำเน่าเสีย จากหอพัก
-
ปัญหาศัตรูพืชในด้านเกษตรกรรมของชุมชน
-ประชาชนขาดความรู้ในด้านกฎหมาย
การเมือง การปกครอง
-
ชุมชนขาดความร่วมมือในการพัฒนาชุมชนของตนเอง
-
ไม่มีการสืบทอดภูมิปัญญาให้แก่คนรุ่นหลัง
- ปัญหาสุขภาพในชุมชน
|
-
ระบบชลประทานยังไม่เพียงพอกับความต้องการ
-ไม่มีทักษะในการประกอบอาชีพ
-
ไม่มีแหล่งจ้างงาน
-
ประชาชนขาดแหล่งเงินทำให้กู้ยืมในการลงทุน
- ประชาชนขาดความรู้
- ประชาชนขาดความรู้การป้องกันศัตรูพืช
-
ผู้นำขาดความรู้/ขาดการชี้แนะ
-
ขาดการแสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ
- ขาดการกระตุ้นสร้างความเข้าใจร่วมกับชุมชน
-
เยาวชนรุ่นหลังไม่เห็นความสำคัญของการอนุรักษ์ภูมิปัญญา
- ประชาชนไปทำงานต่างจังหวัด
- ประชาชนขาดจิตสำนึกในการ
-ขาดความรู้และการดูแล
|
-
ขอรับการสนับสนุนจากหน่วยงานต่างๆองค์กรท้องถิ่น
ฝึกอบรมอาชีพ กลุ่มสนใจ
- ให้ภาครัฐจัดให้มีกองทุนในการกู้ยืมเพื่อนำมาลงทุน
- ควรมีการควบคุมโดยใช้
พรบ.ควบคุมอาหารและให้ความรู้แก่ประชาชน
-ให้ความรู้และส่งเสริมการใช้เกษตรอินทรีย์ที่ถูกต้อง
-ฝึกอบรมให้ความรู้
- จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ
- ส่งเสริมอนุรักษ์ภูมิปัญญา
- อบรม
|
บัญชีงานโครงการตามแผนการปฏิบัติงานประจำปี
2559
|
|||||||||
กศน..................ตำบลพิชัย........
ปีงบประมาณ 2559
|
|||||||||
แผนงบประมาณ: -ขจัดความยากจนระดับบุคคล สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตพัฒนาคนให้มีความรู้คู่คุณธรรมและจริยธรรม
|
|||||||||
ที่
|
ชื่องาน/โครงการ/ชื่อกิจกรรม
|
รหัสบัญชี
|
เป้าหมาย
|
พื้นที่ดำเนินการ
|
งบประมาณ
|
ห้วงระยะเวลา
|
หมายเหตุ
|
||
(คน)
|
หมู่ที่
|
ตำบล
|
อำเภอ
|
(บาท)
|
ดำเนินการ
|
||||
1
|
การศึกษาขั้นพื้นฐาน
|
||||||||
ผู้ไม่รู้หนังสือ
|
5
|
1 - 17
|
พิชัย
|
เมือง
|
2,750
|
ต.ค.58
- ก.ย.59
|
|||
ประถมศึกษา
|
14
|
13,200
|
|||||||
มัธยมศึกษาตอนต้น
|
48
|
55,200
|
|||||||
มัธยมศึกษาตอนปลาย
|
118
|
135,700
|
|||||||
2
|
การศึกษาต่อเนื่อง
|
||||||||
2.1 การศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ/โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน
|
|||||||||
(1) หลักสูตรระยะสั้น
(ไม่เกิน 30 ชม.)งบพัฒนาสังคมฯ
|
|||||||||
การทำของชำร่วย
|
23
|
1
|
พิชัย
|
เมือง
|
3,000
|
ม.ค.-59
|
|||
การทำขนม
|
25
|
8
|
พิชัย
|
เมือง
|
1,800
|
ก.พ.-59
|
|||
(2) หลักสูตรช่างพื้นฐาน
|
|||||||||
ช่างซ่อมเครื่องยนต์เล็ก
|
23
|
8
|
พิชัย
|
เมือง
|
13,000
|
เมย
59
|
|||
(3) หลักสูตรพัฒนาอาชีพ
(ต่อยอดอาชีพเดิม)
|
|||||||||
การตัดเย็บเสื้อผ้า
|
23
|
8
|
พิชัย
|
เมือง
|
13,000
|
เม.ย.-59
|
|||
2.2 การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต
|
|||||||||
(1) กิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต
|
20
|
8
|
พิชัย
|
เมือง
|
2,080
|
เม.ย.-59
|
|||
(2) โครงการจัดหลักสูตรดูแลผู้สูงอายุ
|
20
|
8
|
พิชัย
|
เมือง
|
2,080
|
ธ.ค.-58
|
|||
(3) โครงการเสริมสร้างคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ
|
16
|
1
|
พิชัย
|
เมือง
|
1,664
|
ธ.ค.-58
|
|||
2.3 การศึกษาเพื่อเรียนรู้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
|
|||||||||
(1)โครงการเรียนรู้หลักปรัชญาเศรษฐกิจฯ
|
18
|
1
|
พิชัย
|
เมือง
|
14,580
|
||||
2.4 การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน
|
|||||||||
(1) โครงการหมู่บ้านเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท
|
2
|
1 - 17
|
พิชัย
|
เมือง
|
800
|
ม.ค.-มี.ค.59
|
|||
บัญชีงานโครงการตามแผนการปฏิบัติงานประจำปี 2559
|
|||||||||
กศน..................ตำบลพิชัย........
ปีงบประมาณ 2559
|
|||||||||
แผนงบประมาณ: -ขจัดความยากจนระดับบุคคล สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตพัฒนาคนให้มีความรู้คู่คุณธรรมและจริยธรรม
|
|||||||||
ที่
|
ชื่องาน/โครงการ/ชื่อกิจกรรม
|
รหัสบัญชี
|
เป้าหมาย
|
พื้นที่ดำเนินการ
|
งบประมาณ
|
ห้วงระยะเวลา
|
หมายเหตุ
|
||
(คน)
|
หมู่ที่
|
ตำบล
|
อำเภอ
|
(บาท)
|
ดำเนินการ
|
||||
2.5 การเรียนรู้การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม
|
|||||||||
(1) กิจกรรมการเรียนรู้การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม
|
20
|
7
|
พิชัย
|
เมือง
|
5,800
|
ม.ค.-มี.ค.59
|
|||
3
|
การศึกษาตามอัธยาศัย
|
||||||||
(1) โครงการจัดตั้งแหล่งเรียนรู้ชุมชนในตำบล
|
60
|
1 - 17
|
พิชัย
|
เมือง
|
4,000
|
ม.ค.-มี.ค.59
|
|||
(2) โครงการจัดตั้งศูนย์การเรียนชุมชน
(ในวัด
|
61
|
2 - 17
|
พิชัย
|
เมือง
|
2,000
|
ม.ค.-มี.ค.59
|
|||
ในสถานประกอบการ)
|
|||||||||
(3) โครงการส่งเสริมบ้านหนังสือชุมชน
|
2520
|
9 หมู่บ้าน
|
พิชัย
|
เมือง
|
ต.ค.58
- กย59
|
||||
(4) โครงการบรรณสัญจร
(Book Voyage II)
|
90
|
9 หมู่บ้าน
|
พิชัย
|
เมือง
|
ต.ค.58
- กย59
|
||||
(5) โครงการชุมชนรักการอ่าน
|
60
|
พิชัย
|
เมือง
|
2,000
|
ต.ค.- ธ.ค59
|
||||
(6) โครงการจัดทำฐานข้อมูล
กศน.ตำบล
|
60
|
7
|
พิชัย
|
เมือง
|
2,000
|
ต.ค.- ธ.ค59
|
|||
(7) กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน
|
80
|
1 - 17
|
พิชัย
|
เมือง
|
2,000
|
ต.ค.58
- กย59
|
|||
(8) อื่นๆ หนังสือพิมพ์ตำบล
|
100
|
7
|
พิชัย
|
เมือง
|
2,400
|
ต.ค.58
- กย59
|
|||
4
|
โครงการตามยุทธศาสตร์และจุดเน้น
|
||||||||
(1) โครงการกีฬา
|
90
|
7
|
พิชัย
|
เมือง
|
49,800
|
ต.ค.58
- กย59
|
|||
(2) โครงการติวเข้มเต็มความรู้
|
40
|
7
|
พิชัย
|
เมือง
|
11,600
|
ต.ค.58
- กย59
|
|||
(3) โครงการสอนภาษาอังกฤษและภาษาอาเซียน
|
40
|
7
|
พิชัย
|
เมือง
|
11,600
|
ต.ค.58
- กย59
|
|||
(4) โครงการจัดตั้งศูนย์ข้อมูลด้านอาเซียนศึกษา
|
50
|
7
|
พิชัย
|
เมือง
|
4,000
|
ต.ค.58
- กย59
|
|||
(5) โครงการลูกเสือ
กศน.
|
90
|
7
|
พิชัย
|
เมือง
|
50,100
|
ม.ค - มี.ค 59
|
|||
(6) โครงการอาสายุวกาชาด
กศน.
|
90
|
7
|
พิชัย
|
เมือง
|
50,100
|
เม.ย.-มิ.ย59
|
|||
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น