เข้ากศน.อำเภอเมืองลำปาง ร่วมชม ETV โดยนายสุรพงษ์ จำจด เรื่องยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน 2559 โดยการนำของผอ.ณราวัลย์ นันต๊ะภูมิ และคณะข้าราชการ อาจารย์ยุรัยยา อินทรวิจิตร หัวหน้ากลุ่มจัดฯ อาจารย์สุพรรณี วงค์แสน หัวหน้าภาคีเครือข่าย อาจารย์นาตยา ทุนกุล หัวหน้ากลุ่มงานอำนวยการ
กรอบในการทำงาน
1.การจัดการศึกษาตลอดชีวิต
2.การดำเนินงานตามนโบายและจุดเน้น
3.แผนปฏิบัติการคำรับรอง
1.กศน.ตำบลเป็นฐาน โดยมีครูกศน.ตำบล ครูอาสาเป็นผู้ดูแล ห้องเรียนกศน. มีครบทุกตำบล กศน.ตำบลเป็นหน่วยงานในพื้นที่
สิ้นปี 59 สัญญาพนักงานราชการจะหมด จะเอาผลงานที่ทำในแผนเสนอผลงานเพื่อต่อสัญญาจ้าง ตามพรบ และเสนอต่อรมต.
จะมีการสอบบรรจุกรณีพิเศษ โดยสอบจากคนทำงานมาไม่น้อยกว่า 3 ปี
เป้าหมาย อายุ 15-59 ปี ประชากรวัยแรงงาน 60 ปีขึ้ไป กลุ่มผู้สูงอายุ มีจำนวน 50 ล้านคน แยกเป็น 2 ส่วนคือ
1.ผู้พลาดโอกาส ขาดโอกาส 40 ล้านคน
2.เป้าหมายพิเศษ 10 ล้านคน ออกกลางคัน แรงงานต่างด้าว ชายแดนใต้
กรณีปัญหาระดับบุคคล ต้องการยกระดับการศึกษาให้คนไทยสูงขึ้น คนไทยรักการอ่าน พอเพียง คิดเป็น รู้จักแสวงหาความรู้ มีจิตสาธาณะ
ระดับชุมชน ต้องการสร้างชุมชนเข้มแข็ง เป้าหมายระดับชาติ เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต
ซึ่งจำเป็นต้องใช้การศึกษานอกระบบมาใช้เป็นรายบุคคล
การทำงาน ใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และคิดเป็น ในการทำงาน ให้ยึดสองปรัชญานี้เป็นกรอบกาารทำงาน คิดเป็น ดร.โกวิทย์ วรพิพัฒน์ ได้กำหนดงานการศึกษานอกโรงเรียนไว้ ต้องการให้คนที่มีความสามารถในการตัดสินใจ จากข้อมูล วิเคราะห์ นำมาสรุปใช้ข้อมูลในการตัดสินใจและปฏิบัติ ถ้าสำเร็จถือว่ามีความสุข
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หัวใจต้องการให้คน รู้จักการพึ่งตนเอง โดยหลักพึ่งปัจจัย 4 รู้จักวิเคราะห์ใช้หลักเหตุผล ลดรายจ่าย ทำเองให้มากที่สุด ที่อยู่อาศัย เสื้อผ้า อาหาร ยารักษาโรค เช่นปลูกผักกินเองไม่มีสารพิษ ใช้ความรู้คู่คุณธรรม
การเรียนรู้ตลอดชีวิต ประกอบด้วย การศึกษานอกระบบ ประกอบด้วย การศึกษาพื้นฐาน ยกระดับการศึกษาประชาชน การสอนคนที่ไม่รู้หนังสือ จากไม่รู้เข้าสู่ประถม ม.ต้น ม.ปลาย ปวช มีประเภท พบกลุ่ม ทางไกล เทียบโอน ซึ่งเป็นการเรียนรู้ด้วยตนเอง
การศึกษาต่อเนื่อง จะทำให้คุณภาพชีวิตดีขึ้น ประกอบด้วย 4 ส่วน
1.การศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ
2.การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต
3.การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชมุชน
4.เทคโนโลยีที่เหมาะสม เอาภูมิปัญญาที่มีอยู่ เช่น พลังงาน อาหาร ที่เกี่ยวข้องมาใช้กับเทคนโนโลยี ปรับให้สอดคล้องกับวิถีชีวิต
วิธีการจัด
1กลุ่มสนใจ การจัดการศึกษาที่ใช้หลักสูตรระยะสั้นระมาณ ไม่เกิน 30 ชั่วโมง เหมือนวิชาชีพ
1-2 ชั่วโมง หรือ 10 ชั่วโมง การทำกล้วยบวดชี เอาวัสดุมา การทำอาหารเพื่อสุขภาพของผู้สูงอายุ
2.ชั้นวิชาเรียน หลักสูตร 30 ชั่วโมงขึ้น ไป แต่ไม่เกิน 100 ชั่วโมง ค่าตอบแทน 200 บาทต่อชั่วโมง แต่ยังไม่ได้พูดถึงค่าวัสดุ
3. การฝึกอบรม เกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จะตกลงกับบัญชีกลางเพื่อเบิกค่าอาหารกลางวันจะติดตามและส่งไปพื้นที่ แต่ช่วงนี้ใช้กลุ่มสนใจและวิชาชีพไปก่อน
การศึกษาตามอัธยาศัย
คือการจัดกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อสร้างให้คนรักการอ่าน ไม่มีหลักสูตร แต่มีวิธีการจัดเพื่อกระตุ้นการรักการอ่าน นิทรรศการ ทำรถเคลื่อนที่ หีบหนังสือสู่ประตูบ้าน
การแหล่งการเรียนรู้ชุมชน ระดับครอบครัว ภูมิปัญญา ผู้รู้ หลักสูตรระยะสั้น หรือกลุ่มสนใจ เช่นการตัดสูตร
ระดับหมู่บ้าน ศูนย์การเรียนชุมชน ร่วมกับวัด สถานประกอบการ โรงงานต่างๆ โดยส่วนใหญ่เป็นสถานทีให้มีการพบกลุ่ม หรือหน่วยทหารจัดตั้งเป็นศูนย์การเรียนในทหารได้
ระดับตำบล ศูนย์ขนาดใหญ่ ศูนย์กลางของตำบล เช่น กศน.ตำบล คือที่ที่ครูอยู่ มีคณะกรรมการเข้ามามีส่วนร่วม ถือเป็นห้องเรียน
ระดับอำเภอ เป็นสถานศึกษา หรือโรงเรียน ศูนย์วิทยาศาสตร์ ศูนย์ฝึกอาชีพ เป็นหน่วยปฏิบัติการ
ระดับจังหวัด เป็นหน่วยกำกับการทำงาน
กลไกบริหารจัดการ PDCA
p คือการวางแผนข้อมูลระดับจุลภาค แผนกลยุทธ์ ตัวข้อมูลจุลภาค ให้ครูกศน.ตำบลกรอกข้อมูลทั้ง 3 ประเภท โครงสร้างพื้นฐาน ทีมงานเป็นยังไง มีหนังสือ โต๊ะเท่าไหร สร้างด้วยงบประมาณ หรืออยู่กับหน่วยงานใด
ข้อมูลกลุ่มเป้าหมาย รวบรวมส่งในระบบฐานข้อมูลตำบลด้วย การศึกษา แยกการศึกษา
แผนปฏิบัติการประจำปี การรายงานผลการปฏิบัติงานประจำปี
D ระดับปฏิบัติการ ใช้ระบบการมีส่วนร่วม การตรวจสอบได้ รู้จัการใช้นิติธรรม การใช้กฎหมายอย่างเป็นธรรมในการทำงาน ถูกขั้นตอน ต้องมีหลักสูตร ตอนนี้กป กำลังจัดทำคู่มือการปฏิบัติงานให้จะส่งไป
คู่มือบัญชีพัสดุ
C การประเมิน นิเทศ ติดตาม ประเมิน ตามตัวชี้วัด รายงานผล ตัวชี้วัดกำลังจัดทำเร็วนี้ ซึ่งเป็นตัวชี้วัดของบุคลากร แต่ละตำแหน่งไม่เหมือนกัน ในครูแต่ละประเภท เน้นบทบาทหน้าที่ แต่ทั้งหมดจะมีตัวชี้วัดเหมือนกันหมด คือสามารถทำงานได้บรรลุตามเป้าหมายที่กำหนด สูงกว่า คะแนนก็สูง เสมอตัวก็คะแนนกลาง ปริมาณ จะร้อย 50 เชิงปริมาณ ร้อยละ 50 เชิงคุณภาพ
A คือ ตัวพัฒนาและปรับปรุง เน้นการประเมินและพัฒนา
อยากให้คนทำงานด้วย หัวใจ ศรัทธา และความคิด กศน.สามารถต้องเชื่อว่างานกศน.สามารถแก้ไขปัญหาได้ และใช้ความคิดที่สร้างสรรค์ในการทำงานเพื่อแก้ปัญหาบริบทของชุมชน
นโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ พลเอก ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ ที่เกี่ยวกับสำนักงานกศน.
1. การแปลงพระราชดำรัสฯเกี่ยวกับการปฏิรูปการศึกษาไปเป็นแผนงานโครงการ
2, การยกระดับมาตรฐานภาษาอังกฤษในทุกหลักสูตร
3.การแก้ไขปัญหาการศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้
4. การแก้ไขปัญหาการทุจริต
5.จัดโครงการติวเข้มเต็มความรู้
6.จัดโครงการเรียนร่วมหลักสูตรอาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย
7.ส่งเสริมการศึกษาและพัมนาคนทุกช่วงวัยโดยส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต
8.ให้กศน.ตำบลเป็นกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนการเชื่อมประสานระหว่างบ้าน วัด โรงเรียน
9. การลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา
5 ยุทธศาสตร์
1. ยุทธศาสตร์ที่ 1 ลดความเหลื่อมล้ำ สร้างโอกาส และยกระดับคุณภาพการศึกษา เร่งลดจำนวนผู้ไม่รู้หนังสือมุ่งเน้นจัดการศึกษานอกระบบให้กับกลุ่มเป้าหมายทั่วไปและกลุ่มเป้าหมายพิเศษ อาทิ
ประชาชนวัยแรงงานที่ไม่จบการศึกษาขั้นพื้นฐาน เด็กออกกลางคัน พื้นที่ชายขอบ ผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ
เร่ร่อน กลุ่มชาติพันธุ์ ชนกลุ่มน้อย ชายแดนใต้ แรงงานต่างด้าว การใช้กศน.ตำบลเป็นฐาน ได้รับการประสานจากกระทรวงไอซีที มีการติดตั้งอินเตอร์ทุกตำบล กกต.ในการให้เป็นศูนย์เรียนรู้ประชาธิปไตยชุมชนใช้กศน.เป็นศูนย์ประสานการรับร่างรัฐธรรมนูญ
2.ยุทธศาสตร์ที่ 2 สร้างอุดมการณ์ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ และสร้างค่านิยมที่พึงประสงค์ส่งเสริมการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเพื่อสนับสนุนโครงการ อันเนื่องมาจากพระราชดำริ หรือโครงการอันเกี่ยวเนื่องจากพระราชวงศ์ ส่งเสริมให้ชุมชนจัดตั้งหมู่บ้านเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท เพื่อเสริมสร้างอุดมการณ์ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ส่งเสริมการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต การสร้างจิตสาธารณะ การต้านยาเสพติด ในรูปแบบกิจกรรมลูกเสือ ยุวกาชาด กิจกรรมค่าย การแข่งขันกีฬา
3. ยุทธศาสตร์ที่ 3 จัดการศึกษาเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ทุกช่วงวัยและพัฒนาคุณภาพชีวิต มุ่งเน้นให้ชุมชนรักการอ่าน เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้ครอบครัว จัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตในชุมชนในรูปแบบกลุ่มสนใจในเรื่องต่างๆ อาทิการจัดการขยะ การประหยัดพลังงาน การส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม การใช้กระบวนการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ สุขภาพอนามัย ความรู้เรื่องภาษาและวัฒนธรรมในกลุ่มประเทศอาเซียน ความสามัคคีปรองดอง ความพอเพียง
4.ยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนาการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษจังหวัดชายแดนภาคใต้
5. ยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนา กศน.ตำบลให้เป็นกลไกการขับเคลื่อนการจัดและส่งเสริมการจัด
การศึกษาเพื่อสร้างและกระจายโอกาสในการเรียนรู้ตลอดชีวิตในชุมชน
มอบให้มีการชี้แจง แผนระดับตำบล อำเภอ จังหวัด แต่ละไตรมาทำเท่าไร
หัวใจของแผนจุล การใช้แผนเป็นฟอร์มเดียวกัน ตัวแผนปฏิบัติการมอบเป้าหมายให้ไปมีเพียง 38 จังหวัดที่ส่ง รบกวนให้แต่ละจังหวัดส่งด้วย
จำนวนผู้ไม่รู้หนังสือ มอบให้กลุ่มแผนได้ไปดูข้อมูลและมาตรวจสอบกับเป้า ตัวเลขที่กศน.ถือ สามแสนคนทั่วประเภท ปีนี้เป้า แปดหมื่นคน งบประมาณ 500 บาทต่อหัว 50 บาทจะให้กองพัฒทำสื่อผู้ไม่รู้หนังสือ ตอนนี้จะให้แต่ละจังหวัดดำเนินการเอง จะมีการส่งเงิน 50 ไปให้แต่ละจังหวัด
การศึกษาพื้นฐาน ตัวเลขอาจเพิ่มตัวเล็กน้อย งบประมาณที่ได้รับจัดสรร ใช้ฐานปี 58 เป็นฐาน จัดทำให้ภาคเรียนที่2/58
การศึกษาต่อเนื่อง ให้ทำเป็นแผนส่งไป และทำเป็นรายไตรมาส เรื่องของอาชีพ สังคมชุมชน
เช่น การศึกษาต่อเนื่องหลักสูตรอาชีพ แบ่งเป็น 2 ส่วน
1.ช่างพื้นฐาน ข้อ 2 (2) การพัฒนาอาชีพ หรือต่อยอดอาชีพเดิม ทำในรูปของศูนย์ฝึกอาชีพชุมชุม จะบุเป้าหมายไปให้ จะส่งไปจังหวัด จังหวัดส่งไปอำเภอ งบอาชีพ เป็น งบรายจ่ายอื่น ให้ใช้กลุ่มใจ ชั้นเรียน
ทำกับใคร
โครงการอันเนื่องพระราชดำริ ภาคเหนือ
โครงการชายแดนใต้ ภาคใต้
โครงการยุทธศาสตร์และจุดเน้น เช่นทวิศึกษา ลูกเสื้อ ยุกาชาดเป็นโครงการเดียวกัน
การประเมินผลตามตัวชี้วัดที่กำหนด เช่นวิชาชีพพื้นฐานวิชาชีพ 1 หลักสูตร 10 คน ปรากฏว่าทำได้ดี ทำ 12 คน เกินเป้า ไตรมาส2 กำหนด 2 หลักสูตร ทำได้ 1 หลักสูตร ห้ามทำและเดินหน้าในไตรมาส 3 ต่อไป ถ้าทำงานเสร็จก่อนเวลา หลังจากนั้นถึงจะกลับมาเอาไตรมาส 2 มาจัดทำต่อ
คำรับรองปฏิบัติงาน หลายคำรับรอง เช่นมีครู หลายคน มีแผนเดียวกัน ส่งคำรับรองให้ที่อำเภอ ตามลำดับ อยากให้บันทึกคำรับรองในฐานข้อมูลกศน.ตำบลด้วย
งบประมาณสำหรับผู้สอนพิการ จะจัดสรรไปให้ หก เดือน ก่อน ซึ่งงานตรงนี้จะต้องดูอย่างใกล้ชิด
งบการศึกษาของภาคใต้ จะจัดสรรไปให้
ผอ.ณราวัลย์ นันต๊ะภูมิ กล่าวขอบคุณ สรุป ส่่วนที่ 1 การกรอกข้อมูลโครงสร้างพื้นฐานตำบล ส่วนที่ 2 ข้อมูลกลุ่มเป้าหมาย แผนคำรับรอง ส่วนที่ 3 ฐานข้อมูล ข้อมูลทุกอย่างที่อยู่ในตำบล คณะกรรมการ แหล่งเรียนรู้ที่เป็นฐานข้อมูล นักศึกษาที่ลงทะเบียนๆไอที
กิจกรรมทักษะชีวิต เป้า 420 กิจกรรมที่ 3 เอา 9 ตำบล มี 9 ตำบล บ้านเอื้อม เป้า นิคม ทุ่งฝาย บ่อแฮ้ว เวียงเหนือ ชมพู บ้านแลง สวนดอก
ตามรอยยุคลฯ หมู่บ้านละ 2 คน
กิจกรรมยุวลูกเสือ จัดโซนได้ อย่าจัดมาก หลักสูตร ปฐมพยาบาล ดูแลผู้สูงอายุ อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
แก้ไข ระบบฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการ เข้าลำบากมากเนื่องจาก ระบบช้า มาทำต่อที่บ้านก็ยังคีย์ไม่ได้
ป้ายกำกับ
- บันทึกประจำวัน (310)
- บันทึกหลังสอน (28)
- แผนการจัดกระบวนการเรียนรู้รายสัปดาห์ (1)
- แผนการปฏิบัติงานสัปดาห์ (46)
- ระดร บันทึกหลังสอน (1)
- รายงานการจัดกิจกรรม (4)
- รายงานการอบรม (1)
- อบรมประชุมสัมมนา (3)
วันจันทร์ที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558
วันอาทิตย์ที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558
บันทึกประจำวันครูกศน.ตำบล
เข้ากศน.ตำบลพิชัย จัดการเรียนการสอนระดับประถม เนื้อหาวิชาคณิตศาสตร์ จำนวนและการดำเนินการ
การประมาณค่า สมบัติของจำนวนนับและศูนย์และการนำใช้ในการแก้ปัญหา
ม.ต้น วิชาคณิตศาสตร์ เลขยกกำลัง ภาษาไทย การพูด เศรษฐกิจ
ประกอบอาชีพ การวางแผนประกอบอาชีพ อย่างพอเพียงม.ปลาย วิชาคณิตศาสตร์ เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนตรรกยะ ภาษาไทย การพูด เศรษฐกิจ ชุมชนพอเพียง
ตอนเย็นร่วมฟังสวดพระอภิธรรมงานไหว้สาหลวงพ่อเกษม ฯ พร้อมคณะข้าราชการโดยนำของ อาจารย์ยุรัยยา อินทรวิจิตร หัวหน้ากลุ่มจัดการศึกษานอกระบบฯ และอาจารย์สุพรรณี วงค์แสน หัวหน้าภาคีเครือข่าย และครูทุกประเภท
การประมาณค่า สมบัติของจำนวนนับและศูนย์และการนำใช้ในการแก้ปัญหา
ม.ต้น วิชาคณิตศาสตร์ เลขยกกำลัง ภาษาไทย การพูด เศรษฐกิจ
ประกอบอาชีพ การวางแผนประกอบอาชีพ อย่างพอเพียงม.ปลาย วิชาคณิตศาสตร์ เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนตรรกยะ ภาษาไทย การพูด เศรษฐกิจ ชุมชนพอเพียง
ตอนเย็นร่วมฟังสวดพระอภิธรรมงานไหว้สาหลวงพ่อเกษม ฯ พร้อมคณะข้าราชการโดยนำของ อาจารย์ยุรัยยา อินทรวิจิตร หัวหน้ากลุ่มจัดการศึกษานอกระบบฯ และอาจารย์สุพรรณี วงค์แสน หัวหน้าภาคีเครือข่าย และครูทุกประเภท
บันทึกหลังสอนครั้งที่ 4 ครูกศน.ตำบล
วันนี้ได้มาจัดการเรียนการสอนนักศึกษาระดับประถม ม.ต้น ม.ปลาย ได้แจ้งกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต ในวันที่ 5 ธันวาคม 2558 กิจกรรมสถานศึกษาสีขาว และ สอดแทรกเนื้อหายาเสพติด และให้นักศึกษาม.ปลาย กรอกแบบสอบถาม เรื่องการปฏิรูปการศึกษา และติดตามผู้ไม่มาพบกลุ่ม เนื่องจากเป็นฤดูเก็บเกี่ยวและเทศกาล ทำให้นักศึกษาขาดการพบกลุ่ม ได้ติดตามให้มาพบกลุ่มนอกเวลา
จากนั้น
ระดับประถม จำนวน 1 คน เนื้อหาวิชาคณิตศาสตร์ จำนวนและการดำเนินการ การประมาณค่า สมบัติของจำนวนนับและศูนย์และการนำใช้ในการแก้ปัญหา โดยครูอธิบายให้ผู้เรียนเข้าใจในใบความรู้และใบงาน จากนั้นให้ผู้เรียนทำใบงาน สรุปร่วมกัน
ม.ต้น จำนวน 16 คน เนิ้อหาวิชา คณิตศาสตร์ เลขยกกำลัง โดยการอธิบายและยกตัวอย่างบนกระดานร่วมกับผู้เรียน จากนั้นให้ผู้เรียนทำใบงานและร่วมกันสรุป
วิชาภาษาไทย อธิบายในใบความรู้ร่วมกับผู้เรียนและให้ผู้เรียนทำใบงานเรื่องการพูด และสรุปร่วมกัน วิชาเศรษฐกิจ ครูอธิบายในความรู้ร่วมกับผู้เรียน จากนั้นให้ผู้เรียนทำใบงาน เรื่อง ประกอบอาชีพ การวางแผนประกอบอาชีพ อย่างพอเพียง
ระดับม.ปลาย จำนวน 35 คน วิชาคณิตศาสตร์ เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนตรรกยะ โดยการอธิบายและยกตัวอย่างบนกระดานร่วมกับผู้เรียนให้ผู้เรียนฝึกทำร่วมกัน จากนั้นให้ทำใบงาน ร่วมกันสรุป
ครูอธิบายใบความรู้ร่วมกับผู้เรียนและให้ผู้เรียนทำใบงานเรื่อง ภาษาไทย การพูด
ครูอธิบายใบความรู้วิชา เศรษฐกิจพอเพียง เรื่อง ชุมชนพอเพียง จากนั้นให้ผู้เรียนทำใบงานสรุปร่วมกัน
จากนั้น
ระดับประถม จำนวน 1 คน เนื้อหาวิชาคณิตศาสตร์ จำนวนและการดำเนินการ การประมาณค่า สมบัติของจำนวนนับและศูนย์และการนำใช้ในการแก้ปัญหา โดยครูอธิบายให้ผู้เรียนเข้าใจในใบความรู้และใบงาน จากนั้นให้ผู้เรียนทำใบงาน สรุปร่วมกัน
ม.ต้น จำนวน 16 คน เนิ้อหาวิชา คณิตศาสตร์ เลขยกกำลัง โดยการอธิบายและยกตัวอย่างบนกระดานร่วมกับผู้เรียน จากนั้นให้ผู้เรียนทำใบงานและร่วมกันสรุป
วิชาภาษาไทย อธิบายในใบความรู้ร่วมกับผู้เรียนและให้ผู้เรียนทำใบงานเรื่องการพูด และสรุปร่วมกัน วิชาเศรษฐกิจ ครูอธิบายในความรู้ร่วมกับผู้เรียน จากนั้นให้ผู้เรียนทำใบงาน เรื่อง ประกอบอาชีพ การวางแผนประกอบอาชีพ อย่างพอเพียง
ระดับม.ปลาย จำนวน 35 คน วิชาคณิตศาสตร์ เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนตรรกยะ โดยการอธิบายและยกตัวอย่างบนกระดานร่วมกับผู้เรียนให้ผู้เรียนฝึกทำร่วมกัน จากนั้นให้ทำใบงาน ร่วมกันสรุป
ครูอธิบายใบความรู้ร่วมกับผู้เรียนและให้ผู้เรียนทำใบงานเรื่อง ภาษาไทย การพูด
ครูอธิบายใบความรู้วิชา เศรษฐกิจพอเพียง เรื่อง ชุมชนพอเพียง จากนั้นให้ผู้เรียนทำใบงานสรุปร่วมกัน
แผนปฏิบัติงานครูกศน.ตำบล
แผนปฏิบัติงานครูกศน.พิชัย
ประจำวันที่ วันที่
23 -30 พฤศจิกายน 2558 และ วันที่ 1 -6 ธันวาคม 2558
วัน เดือน
ปี
|
รายงาน
|
พื้นที่ปฏิบัติงาน
|
หมายเหตุ
|
23 พฤศจิกายน 58
|
- เข้ากศน.อำเภอเมืองลำปาง
- ร่วมดูETV นโยบายและจุดเน้นพร้อมครูทุกประเภท
- เขียนบันทึกประจำวัน
|
กศน.เมืองลำปาง
|
|
24 พฤศจิกายน 58
|
- เข้ากศน.ตำบลพิชัย
- จัดทำใบงาน ใบความรู้วิชาสังคม
- เขียนบันทึกประจำวัน
|
กศน.ตำบลพิชัย
|
|
25 พฤศจิกายน 58
|
- ร่วมกิจกรรมวันวิชราวุธ
-เข้ากศน.อำเภอเมืองลำปาง แก้ไขแผนบริการจัดการฯ
- เขียนบันทึกประจำวัน
|
ค่ายลูกเสือจังหวัดฯ
กศน.อำเภอเมืองลำปาง
|
|
26 พฤศจิกายน 58
|
- เข้ากศน.อำเภอเมืองลำปาง
- พิมพ์ขออนุมัติกพช.งานหลวงพ่อฯ
- ติดตามข้อมูลผู้ไม่รู้หนังสือ
- เขียนบันทึกประจำวัน
|
กศน.อำเภอเมืองฯ
ตำบลพิชัย
|
|
27
พฤศจิกายน 58
|
- เข้าพื้นที่ติดตามข้อมูลผู้ไม่รู้หนังสือ
- ร่วมพิธีเปิดงานไหว้สาหลวงพ่อเกษมฯพร้อมครูทุกประเภท
- เขียนบันทึกประจำวัน
|
ตำบลพิชัย
กศน.อำเภอเมืองลำปาง
|
|
28 พฤศจิกายน 58
|
-
วันหยุด
|
|
|
29
พฤศจิกายน 58
|
-
พบกลุ่มนักศึกษาระดับประถม ม.ต้น
ม.ปลาย
|
กศน.ตำบลพิชัย
|
|
30 พฤศจิกายน 58
|
-
เข้ากศน.อำเภอเมืองลำปาง
-
ร่วมดูETV
ร่วมกับครูทุกประเภท
-
เขียนบันทึกประจำวัน
|
กศน.เมืองลำปาง
|
|
1
ธันวาคม 58
|
-
เข้ากศน.ตำบลพิชัย
-
จัดทำใบจัดตั้งกลุ่ม
และจัดทำใบรายงานกพช.งานหลวงพ่อฯ
-
เขียนบันทึกประจำวัน
|
กศน.ตำบลพิชัย
|
|
2
ธันวาคม 58
|
- เข้ากศน.ตำบลพิชัย
- ทำขออนุมัติกพช.วันพ่อ
- เขียนบันทึกประจำวัน
|
กศนตำบลพิชัย
|
|
3 ธันวาคม 58
|
- เข้ากศน.ตำบลพิชัย
- จัดทำใบแผนการสอนวิชาสังคม
- เขียนบันทึกประจำวัน
|
กศน.ตำบลพิชัย
|
|
4 ธันวาคม 58
|
- เข้ากศน.ตำบลพิชัย
จัดเตรียมใบงาน ระดับประถม ม.ต้น ม.ปลาย
|
กศน.ตำบลพิชัย
|
|
5 ธันวาคม 58
|
- วันหยุด
ร่วมจุดเทียนชัยพระพรวันพ่อ
|
สวนสาธารณะเขลางค์
|
|
6 ธันวาคม 58
|
- จัดการเรียนการสอนระดับประถม
ม.ต้น. ม.ปลาย
|
กศน.ตำบลพิชัย
|
|
วันเสาร์ที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558
บันทึกหลังสอนครั้งที่ 3
วันที่ 22 พฤศจิกายน 2558
วันนี้เป็นการพบกลุ่มครั้งที่ 3 ระดับประถม 1 ได้จัดการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่องจำนวนและการดำเนินการ การอ่านและเขียนตัวเลขแทนจำนวน ค่าประจำหลัก ค่าของตัวเลข การเขียนในรูปการกระจาย การเรียงลำดับจำนวน
กรต. การประมาณค่า
ระดับ ม.ต้น จำนวน 13 ได้จัดการเรียนการสอน วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง จำนวนการและการดำเนินการ โดยครูได้ให้ผู้เรียนศึกษาจากใบความรู้ และได้อธิบายและยกตัวอย่างกับผู้เรียน สรุปร่วมกัน และให้ผู้เรียนทำใบงาน ร่วมกันเฉลย
กรต. ศึกษาเพิ่มเติม จำนวนและการดำเนินการ ความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนที่อยู่ในรูปเศษส่วนและทศนิยม
วิชาภาษาไทย เรื่องการฟังและการดู กรต.ให้ผู้เรียนไปหาตัวอย่างบุคคลที่มีความสามรถในการพูด มา 1 ท่าน และเขียนสรุปใจความสำคัญจากการอ่านข่าว มา 1 ข่าว
เศรษฐกิจเรื่อง ความพอเพียง
ระดับ.ปลาย จำนวน 32 คน ได้จัดการเรียนการสอน วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง จำนวนและการดำเนินการ ครูอธิบายสมบัติของระบบจำนวนจริง วิธีการบวก ลบ คูณหาร จำนวนจนิง ยกตัวอย่างในหนังสือแบบเรียน ให้ผ้เรียนทำใบงานและสรุปร่วมกัน
กรต. ระบบจำนวน สมบัติการเท่ากันและไม่เท่ากันของจำนวนจริง
ภาษาไทย เรื่อง การฟังและการดู เศรษฐกิจ เรื่อง ความพอเพียง
วันนี้เป็นการพบกลุ่มครั้งที่ 3 ระดับประถม 1 ได้จัดการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่องจำนวนและการดำเนินการ การอ่านและเขียนตัวเลขแทนจำนวน ค่าประจำหลัก ค่าของตัวเลข การเขียนในรูปการกระจาย การเรียงลำดับจำนวน
กรต. การประมาณค่า
ระดับ ม.ต้น จำนวน 13 ได้จัดการเรียนการสอน วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง จำนวนการและการดำเนินการ โดยครูได้ให้ผู้เรียนศึกษาจากใบความรู้ และได้อธิบายและยกตัวอย่างกับผู้เรียน สรุปร่วมกัน และให้ผู้เรียนทำใบงาน ร่วมกันเฉลย
กรต. ศึกษาเพิ่มเติม จำนวนและการดำเนินการ ความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนที่อยู่ในรูปเศษส่วนและทศนิยม
วิชาภาษาไทย เรื่องการฟังและการดู กรต.ให้ผู้เรียนไปหาตัวอย่างบุคคลที่มีความสามรถในการพูด มา 1 ท่าน และเขียนสรุปใจความสำคัญจากการอ่านข่าว มา 1 ข่าว
เศรษฐกิจเรื่อง ความพอเพียง
ระดับ.ปลาย จำนวน 32 คน ได้จัดการเรียนการสอน วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง จำนวนและการดำเนินการ ครูอธิบายสมบัติของระบบจำนวนจริง วิธีการบวก ลบ คูณหาร จำนวนจนิง ยกตัวอย่างในหนังสือแบบเรียน ให้ผ้เรียนทำใบงานและสรุปร่วมกัน
กรต. ระบบจำนวน สมบัติการเท่ากันและไม่เท่ากันของจำนวนจริง
บันทึกประจำวันครู กศน.ตำบล
วันที่ 28 พฤศจิกายน 2558
เข้าพื้นที่ ตำบลพิชัย ติดตามผู้ไม่รู้หนังสือบ้านหมู่5,12 และเข้ากศน.อำเภอเมืองลำปาง แก้ไขข้อมูลระบบฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการ และร่วมประชุมกลุ่มย่อย การจัดกิจกรรมค่ายคณุธรรม 12 ประการที่ให้เพ่ิมเข้าไปในยุทธศาสตร์ที่ 6
เข้าพื้นที่ ตำบลพิชัย ติดตามผู้ไม่รู้หนังสือบ้านหมู่5,12 และเข้ากศน.อำเภอเมืองลำปาง แก้ไขข้อมูลระบบฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการ และร่วมประชุมกลุ่มย่อย การจัดกิจกรรมค่ายคณุธรรม 12 ประการที่ให้เพ่ิมเข้าไปในยุทธศาสตร์ที่ 6
ร่วมพิธิเปิดงานไหว้สาหลวงพ่อเกษมเขมโกฯ พร้อมคณะข้าราชการ และครูทุกประเภท และดูแลนักศึกษาเก็บแบบสอบถามความพึงพอใจงานสวดพระอภิธรรม ณ สุสานไตรรัตน์
วันพฤหัสบดีที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558
บันทึกประจำวันครูกศน.ตำบล
เข้ากศน.อำเภอเมืองลำปาง จัดทำขออนุมัติกพช งานหลวงพ่อเกษม ฯและแก้ไขระบบฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการ และคีย์ข้อมูลในส่วนของกรรมการกศน. ตอนเย็นติดตามนักศึกษาผู้ไม่รู้หนังสือบ้านหมู่ 1,2,5
วันพุธที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558
บันทึกประจำวันครูกศน.ตำบล
ร่วมกิจกรรมวันวชิราวุุธ ซึ่ง เป็นวันสำคัญกับวงการลูกเสือไทย พร้อมคณะข้าราชการ ครูทุกประเภท พิฺธิเปิดโดยนายสามารถ ลอยฟ้า ผู้ว่าราชการจังหวัดลำปาง ณ ค่ายลูกเสือจังหวัดลำปาง (หนองกระทิงและร่วมกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์พร้อมครูทุกประเภท
แก้ไขข้อมูลระบบฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการ
แก้ไขข้อมูลระบบฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการ
วันอังคารที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558
บันทึกประจำวันครูกศน.ตำบล
เข้ากศน.อำเภอเมืองลำปาง คีย์ข้อมูลระบบฐานข้อมูลเพื่อการจัดการ แผนรับรองการปฏิบัติราชการ ตอนคีย์ข้อมูลขั้นตอนแรก ก็ไปศึกษาจากเอกสารและนำมากรอกข้อมูล ก็ยังคีย์ข้อมูลติดลบ การแก้ไปขสอบถามครูกศน.ตำบลที่คีย์แล้วไม่พบปัญหา
วันจันทร์ที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558
บันทึกประจำวันครูกศน.
เข้ากศน.อำเภอเมืองลำปาง ร่วมดู ETV ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินของสำนักงานกศน.เพื่อให้เป็นไปเทิศทางเดียวกัน โดยมี สาระยุทธศาสตร์และจุดเน้นของกศน. มีผู้บริหารไม่ต่ำกว่า 1,000 คน ผู้อำนวยการทุกจังหวัด ผู้อำนวยการกศน.ทุกแห่งโดย
นายสุพงษ์ จดจำ ปี 59 กล่าวขอบคุณและต้อนรับ ยุทธศาสตร์การดำเนินงานปี 59
การสร้างการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย กลุ่มเป้าหมายไปสร้างความเข้มแข็งให้เข้า เช่นสร้างความรู้ ความเข้าใจกับเข้า ให้กับคณะกรรมการกศน.ตำบล
2 งบประมาณ หมวดอุดหนุน เงินเดือน หมวดต่างๆ มาแล้ว ซึ่งจะนำเอานโยบายของรัฐบาลสู่กรอบ
แผนเป็นหลักในการปฏิบัติงาน การชี้แจงแผนปี 59 มี 2 แบบ
แบบที่ 1 ตัวกรอบงานในเชิงปริมาณ งานปกติมีอะไรบ้าง
แบบที่ 2 โครงการที่สำคัญต้องทำร่วมกัน
และจะถูกรวบเป็นปฏิทินแผนการปฏิบัติงานประจำปี
นโยบายของรัฐมนตรีว่าการกะทยวงศึกษาธิการ (พลเอกดาวพงษ์ รัตนสุวรรณ) ที่เกี่่ยวกับสำนักงานกศน.
1. การแปลงพระราชดำรัสเกี่ยวกับการปฏิรูปการศึกษาไปเป็นแผนงานโครงการ
6. การยกระดับมาตรฐานภาษาอังกฤษในทุกหลักสูตร
8. การแก้ไขปัญหาการศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้
9. การแก้ไขปัญหาการทุจริต
18. จัดโครงการติวเข้มเติมเต็มความรู้
19.จัดโครงการเรียนร่วมหลักสูตรอาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย
20.ส่งเสริมการศึกษาและพัฒนาคนทุกช่วงวัยโดยส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต
21.ให้กศน.ตำบลเป็นกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนการเชื่อมประสานระหว่างบ้าน วัด โรงเรียน
24. การลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา
กรอบคิดใช้กศน.ตำบลเป็นฐานตลอดชีวิต กลุ่มเป้าหมายที่รับผิดชอบ คือ 15-59 ปี ผู้พลาดและขาดโอกาส และ 60 ปีขึ้นไป รวม 50 ล้านคน กลุ่มพิเศษ เช่น ชาวไทยภูเขา ออกกลางคน
ไม่รู้หนังสือ ล้านแปด คน แต่กศน. สำรวจ สานแสน แต่ปีนี้ แปดหมื่นคน คือเป้า แต่ทำเกินเป้าไม่ผิดทำได้
ไมจบการศึกษาภาคบังคับ ยี่สิบเจ็ดล้านคน ไม่จบ 9 ปี และ 12 ปี รวม 36 ล้านคน
อายุ 15 ปี ขึ้นไปที่ไมีจบการศึกษาภาคบังคับ จำนวน 27,318,600 คน
อายุ 15 ปีขึ้นไปที่ไม่จบการศึกษาชั้นพื้นาน จำนวน 9,786,700 คน
2556 อัตราการอ่านคนไทยอยู่ 37 นาที มีความยากจน ขาดทักษะชีวิต คุณภาพการศึกษาต่ำ สังคม เหลื่อมล้ำทาง ขาดความสามัคคี
ระดับชาติ สังคมแห่งการเรียนรูตลอดชีวิต ผอ.อำเภอต้องเร่งเข้าถึงเป้าหมายทำให้คนรักการอ่าน ทำให้ประชาชนมีความเพียง คิดเป็น รู้จักแสวงหาความรู้ สืบค้นเป็น เข้าหาสื่อ มีจิตสาธารณะ
ระดับชุมชน ชุมชนเข้มแข็ง
งานกศน. ประกอบด้วย งานการศึกษาตามอัธยาศัย บน หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หลักปรัชญา คิดเป็น คนคิดเป็นคือ คนที่มีความสามารถหรือศักยภาพในการตัดสินใจแก้ปัญหาต่างๆได้
1. ความเชื่อเรื่องมนุษย์มีความแตกต่างกัน
2. ความสุข
3.มนุษย์เป็นสัตย์สังคม
การศึกษาพื้นฐาน เป้าหมาย ยกระดับการศึกษาของคน โดยผ่านกระบวยการเรียนรู้ที่มีอยู่
เช่น มาเรียนเอาตรง แยกเป็นเรียนตรงๆ เช่นพบกลุ่ม ทางไกล โดยสื่อบุคล สื่อแบบเรียน สื่อที่ดีที่สุดคือสื่อที่เรียนรู้ด้วยตนเอง เรียนรู้ผ่านสื่อเทคโนโลยี หรือ ETV ต้องใช้คำถามประเด็นปลายเปิดที่ครูต้องตั้งประเด็นปลายเปิด สามารถอธิบายได้อย่างกว้างขวาง สภาพที่นักศึกษากศนงเผชิญอยู่ เช่น สังคมมีการถูกหลอกลวงมาก โยงทฤษฏีวิชาการเข้าชีวิตของกลุ่มเป้าหมายได้ ศูนย์เทคโน ต้องเอาเนื้อหาที่ต้องการไปสร้างเป็นภาพ และเรียนอ้อม ไม่ได้มุ่งวุฒิเป็นตัวตั้ง เพียงเอาความรู้ไปพัฒนาความรู้ พัฒน ทักษะชีวิต ประกอบอาชีพ เช่น อาชีพ เอาชีวิตเป็นตัวตั้ง เอาความมั่นคงอาชีพเป็นตัวตั้ง ท้ายสุดให้เอามาเทียบโอน ไม่ต้องเรียนประเมินเอา เช่น การไต่ระดับ เวลาทำแผน
การศึกษาต่อเนื่อง ให้คนได้เรียนรู้ตลอดชีวิต เป้าหมายมี 4 เรื่อง
1.อาชีพพื้นฐาน ช่างในบ้านมีอะไรบ้างสอนในนั้นแหละ เช่น แอร์ ไฟฟ้า การซ่อมสามารถเป็นอาชีพได้เช่นกัน
2. ต่อยอดอาชีพเดิม เช่น พิษณุโลก กล้วยตาก เขามีการต่อยอดแพ็กกิ่ง จนเป็นที่ยอดรับ
3. ทักษะชีวิต เช่น ความสามารถในการตัดสินใจ
4. พัฒนาสังคมและชุมชน สร้างให้คนเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
5. เทคโนโลยีที่เหมาะสม ต้องการให้คนเรียนรุ้ปรับตัวเข้ากับเทคโนโนโลยี เพื่อให้เกิดประหยัดพลังงาน มาจาก ภูมิปัญญา + ภูมิปัญญา เป็นเทคโนโลยี เรื่องโลกร้อน การเก็บพืชผล ลดต้นทุน กศน.ควรสอนให้คนรู้จักใช้ จัดผ่านกิจกรรมกศน.อยู่ 3 ตัว
6. การฝึกอบรม เวลาเชิญชาวบ้านมา สามารถจ่ายค่าอาหารได้ขอให้รอก่อน
กลุ่มสนใจ คือ การจัดวิชาชีพ ทักษะวิชาชีพให้จ้ดสั้น ไม่เกิน 30 ชั่วโมง ให้เบิกค่าวัสดุได้ รอก่อน
จะจัดทักษะชีวิตเป็นกลุ่มสนใจ
อาจารย์ยุรัยยา ให้ ครูรายงานข้อมูลทางบล็อคเป็นปัจจุบันด้วยการคีย์ข้อมูล ให้คีย์ตามรหัสผ่านเข้าระบบถึงวันที่ 30 พ.ย.59
ภาคบ่ายประชุมงานหลวงพ่อเกษม เรื่องการเก็บข้อมูล แต่ละงาน และงานลูกเสือ
นายสุพงษ์ จดจำ ปี 59 กล่าวขอบคุณและต้อนรับ ยุทธศาสตร์การดำเนินงานปี 59
การสร้างการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย กลุ่มเป้าหมายไปสร้างความเข้มแข็งให้เข้า เช่นสร้างความรู้ ความเข้าใจกับเข้า ให้กับคณะกรรมการกศน.ตำบล
2 งบประมาณ หมวดอุดหนุน เงินเดือน หมวดต่างๆ มาแล้ว ซึ่งจะนำเอานโยบายของรัฐบาลสู่กรอบ
แผนเป็นหลักในการปฏิบัติงาน การชี้แจงแผนปี 59 มี 2 แบบ
แบบที่ 1 ตัวกรอบงานในเชิงปริมาณ งานปกติมีอะไรบ้าง
แบบที่ 2 โครงการที่สำคัญต้องทำร่วมกัน
และจะถูกรวบเป็นปฏิทินแผนการปฏิบัติงานประจำปี
นโยบายของรัฐมนตรีว่าการกะทยวงศึกษาธิการ (พลเอกดาวพงษ์ รัตนสุวรรณ) ที่เกี่่ยวกับสำนักงานกศน.
1. การแปลงพระราชดำรัสเกี่ยวกับการปฏิรูปการศึกษาไปเป็นแผนงานโครงการ
6. การยกระดับมาตรฐานภาษาอังกฤษในทุกหลักสูตร
8. การแก้ไขปัญหาการศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้
9. การแก้ไขปัญหาการทุจริต
18. จัดโครงการติวเข้มเติมเต็มความรู้
19.จัดโครงการเรียนร่วมหลักสูตรอาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย
20.ส่งเสริมการศึกษาและพัฒนาคนทุกช่วงวัยโดยส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต
21.ให้กศน.ตำบลเป็นกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนการเชื่อมประสานระหว่างบ้าน วัด โรงเรียน
24. การลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา
กรอบคิดใช้กศน.ตำบลเป็นฐานตลอดชีวิต กลุ่มเป้าหมายที่รับผิดชอบ คือ 15-59 ปี ผู้พลาดและขาดโอกาส และ 60 ปีขึ้นไป รวม 50 ล้านคน กลุ่มพิเศษ เช่น ชาวไทยภูเขา ออกกลางคน
ไม่รู้หนังสือ ล้านแปด คน แต่กศน. สำรวจ สานแสน แต่ปีนี้ แปดหมื่นคน คือเป้า แต่ทำเกินเป้าไม่ผิดทำได้
ไมจบการศึกษาภาคบังคับ ยี่สิบเจ็ดล้านคน ไม่จบ 9 ปี และ 12 ปี รวม 36 ล้านคน
อายุ 15 ปี ขึ้นไปที่ไมีจบการศึกษาภาคบังคับ จำนวน 27,318,600 คน
อายุ 15 ปีขึ้นไปที่ไม่จบการศึกษาชั้นพื้นาน จำนวน 9,786,700 คน
2556 อัตราการอ่านคนไทยอยู่ 37 นาที มีความยากจน ขาดทักษะชีวิต คุณภาพการศึกษาต่ำ สังคม เหลื่อมล้ำทาง ขาดความสามัคคี
ระดับชาติ สังคมแห่งการเรียนรูตลอดชีวิต ผอ.อำเภอต้องเร่งเข้าถึงเป้าหมายทำให้คนรักการอ่าน ทำให้ประชาชนมีความเพียง คิดเป็น รู้จักแสวงหาความรู้ สืบค้นเป็น เข้าหาสื่อ มีจิตสาธารณะ
ระดับชุมชน ชุมชนเข้มแข็ง
งานกศน. ประกอบด้วย งานการศึกษาตามอัธยาศัย บน หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หลักปรัชญา คิดเป็น คนคิดเป็นคือ คนที่มีความสามารถหรือศักยภาพในการตัดสินใจแก้ปัญหาต่างๆได้
1. ความเชื่อเรื่องมนุษย์มีความแตกต่างกัน
2. ความสุข
3.มนุษย์เป็นสัตย์สังคม
การศึกษาพื้นฐาน เป้าหมาย ยกระดับการศึกษาของคน โดยผ่านกระบวยการเรียนรู้ที่มีอยู่
เช่น มาเรียนเอาตรง แยกเป็นเรียนตรงๆ เช่นพบกลุ่ม ทางไกล โดยสื่อบุคล สื่อแบบเรียน สื่อที่ดีที่สุดคือสื่อที่เรียนรู้ด้วยตนเอง เรียนรู้ผ่านสื่อเทคโนโลยี หรือ ETV ต้องใช้คำถามประเด็นปลายเปิดที่ครูต้องตั้งประเด็นปลายเปิด สามารถอธิบายได้อย่างกว้างขวาง สภาพที่นักศึกษากศนงเผชิญอยู่ เช่น สังคมมีการถูกหลอกลวงมาก โยงทฤษฏีวิชาการเข้าชีวิตของกลุ่มเป้าหมายได้ ศูนย์เทคโน ต้องเอาเนื้อหาที่ต้องการไปสร้างเป็นภาพ และเรียนอ้อม ไม่ได้มุ่งวุฒิเป็นตัวตั้ง เพียงเอาความรู้ไปพัฒนาความรู้ พัฒน ทักษะชีวิต ประกอบอาชีพ เช่น อาชีพ เอาชีวิตเป็นตัวตั้ง เอาความมั่นคงอาชีพเป็นตัวตั้ง ท้ายสุดให้เอามาเทียบโอน ไม่ต้องเรียนประเมินเอา เช่น การไต่ระดับ เวลาทำแผน
การศึกษาต่อเนื่อง ให้คนได้เรียนรู้ตลอดชีวิต เป้าหมายมี 4 เรื่อง
1.อาชีพพื้นฐาน ช่างในบ้านมีอะไรบ้างสอนในนั้นแหละ เช่น แอร์ ไฟฟ้า การซ่อมสามารถเป็นอาชีพได้เช่นกัน
2. ต่อยอดอาชีพเดิม เช่น พิษณุโลก กล้วยตาก เขามีการต่อยอดแพ็กกิ่ง จนเป็นที่ยอดรับ
3. ทักษะชีวิต เช่น ความสามารถในการตัดสินใจ
4. พัฒนาสังคมและชุมชน สร้างให้คนเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
5. เทคโนโลยีที่เหมาะสม ต้องการให้คนเรียนรุ้ปรับตัวเข้ากับเทคโนโนโลยี เพื่อให้เกิดประหยัดพลังงาน มาจาก ภูมิปัญญา + ภูมิปัญญา เป็นเทคโนโลยี เรื่องโลกร้อน การเก็บพืชผล ลดต้นทุน กศน.ควรสอนให้คนรู้จักใช้ จัดผ่านกิจกรรมกศน.อยู่ 3 ตัว
6. การฝึกอบรม เวลาเชิญชาวบ้านมา สามารถจ่ายค่าอาหารได้ขอให้รอก่อน
กลุ่มสนใจ คือ การจัดวิชาชีพ ทักษะวิชาชีพให้จ้ดสั้น ไม่เกิน 30 ชั่วโมง ให้เบิกค่าวัสดุได้ รอก่อน
จะจัดทักษะชีวิตเป็นกลุ่มสนใจ
อาจารย์ยุรัยยา ให้ ครูรายงานข้อมูลทางบล็อคเป็นปัจจุบันด้วยการคีย์ข้อมูล ให้คีย์ตามรหัสผ่านเข้าระบบถึงวันที่ 30 พ.ย.59
ภาคบ่ายประชุมงานหลวงพ่อเกษม เรื่องการเก็บข้อมูล แต่ละงาน และงานลูกเสือ
บันทึกประจำวันครูกศน.ตำบล
วันท่ 22 พ.ย.58
จัดการเรียนการสอน ระดับประถม ม.ต้น ม.ปลาย วิชาคณิตศาสตร์ ภาษาไทย เศรษฐกิจพอเพียง
และร่วมเป็นกรรมการตัดสินนางนพมาศน้อย และนางนพมาศประจำปี อบต.ตำบลพิชัย ณ บ้านทรายใต้หมู่ 8 พร้อมภาคีเครือข่าย พัฒนาชุมชน และเกษตรอำเภอ และครูชำนาญการครูโรงเรียนบ้านปงวัง
จัดการเรียนการสอน ระดับประถม ม.ต้น ม.ปลาย วิชาคณิตศาสตร์ ภาษาไทย เศรษฐกิจพอเพียง
และร่วมเป็นกรรมการตัดสินนางนพมาศน้อย และนางนพมาศประจำปี อบต.ตำบลพิชัย ณ บ้านทรายใต้หมู่ 8 พร้อมภาคีเครือข่าย พัฒนาชุมชน และเกษตรอำเภอ และครูชำนาญการครูโรงเรียนบ้านปงวัง
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)