เข้ากศน.เมืองลำปาง ร่วมประชุมพร้อมคณะข้าราชการ ครูทุกประเภท โดยอาจารย์ยุรัยยา อินทรวิจิตร หัวหน้ากลุ่มจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย การเตรียมงานวันที่ 8 กันยายน 2558
งานพื้นฐาน โดยอ.สายฝน ได้นำเสนอว่า ได้ประสานงานกับอำเภอต่างๆแล้ว จะเป็นโครงงานที่ได้รับรางวัลมานำเสนอ คนละส่วนกับโครงงานของจังหวัด งบประมาณ จะทำโฟมบอร์ด 3 อัน เป็นการนำโครงงานของทุ่งฝาย ต้นธงชัย ปงแสนทอง จำนวน 4,000
งานปวช นำเสนอโดย อาจารย์เอกอนันต์ จะนำเสนอสมุดทำมือ ที่คั้นหนังสือ เสื้อผ้า กระเป๋าทำมือ ซึ่งเป็นผลงานของผู้เรียน ประมาณ 10,500 จากเงินอุดหนุนปวช
งานผู้ไม่รู้หนังสือ มีรูปผู้ไม่รู้ของตำบลบ้านค่่า เอื้อม นิคม เรือนจำ บุณนาคพัฒนา สื่อผู้ไม่รู้ ประสานกับอำเภอต่างแล้ว อาจารย์ยุรัยยา แนะนำขอให้ภาพชัดเจน ใช้งบ 1,300
งานคนพิการ นำเสนอโดย อาจารย์มานพ ได้ประสานอำเภอเอื่นแล้ว จะนำเสนอเป็น X -Stand ด้านทักษะงานทักษะ พัฒนาสังคม พัฒนาาอชีพ การผลิตสื่อ โฟมบอร์การนำเสนอผลิตภัณฑ์จากกระลา ของอำเภอเมืองปาน การเพาะถั่วงอก เพาะเห็ด ห้างฉัตร นำเสนอ Backdrop สื่อคนพิการ วังเหนือ การประดิษฐ์เศษผ้า เกาะคา ป้ายภายพการจัดกิจกรรมต่างๆ ใช้งบ 3,700
กศน.ในวัด อาจารย์จิตราภรณ์ ประสานอำเภอต่างๆแล้ว จะนำเสนอการจัดกิจกรรมในวัด เป็น X -Stand 4 ตัว และโฟมบอร์ 1 แผ่น ใช้งบ 4,500 มีการสาธิตการสอนการทำเหรียญโปรยทาน
การแสดง การเต้น To be number one ใช้งบ 6,500 การแสดงโชว์ การแต่งตัวนักร้อง การเต้น โครงงานประกวดต้องทำบอร์ดเรื่องเครื่องรดน้ำต้นไม้อัจฉริยะลดภาระลดพลังงานน้ำ
อาจ่ารย์สุมลมาลย์ ติดตามการสรุปโครงการปี58 ติดตามงานข้อมูลSar ซึ่งอาจารย์เอกอนันต์ได้อัพข้อมูลแล้ว ให้จัดทำแผนการปฏิบัติงานปีะ 59 ส่งภายในวันที่ 2 ซึ่งงานจะส่งในภาพรวมก่อนและให้ครูเร่งประชาคมแผนโดยดูในแผนสามปีที่ได้ตั้งไว้นำนโยบายมาสู่การปฏิบัติ
อาจารย์สายฝน แจ้งการทำข้อสอบระหว้้างภาคยังถ่ายเอกสารไม่ครบเมื่อเสร็จแล้วขอให้ครูมาช่วยเย็บด้วย การสอบ N-net สำหรับนักศึกษาตกหล่น 15 กันยายน 58
อาจารย์ยุรัยยา แนะนำให้ห้องสมุดจังหวัดจังหวัดและอำเภอ จัดทำแผนการจัดกิจกรรม ในปี59 ด้วย ห้องสมุดอำเภอ ควรมีการจัดมุมต่างๆและกิจกรรมให้มีการเคลื่อนไหว ให้รีบรายงานกพชที่ยังไม่ได้รายงาน ส่งสมุดประเมินไม่เกิน 10 กันยายน 58 ให้ส่งคาดว่าจะจบด้วย
อาจารย์นาตยา แจ้งผลการประชุมที่กาดสวนแก้ว ว่า การทำแผนจุลภาคหใ้นำข้อมุลที่แท้จริงมาเขียน และจะมีฟรอม์เดียวกันทั่วไประเทศศประมาณดือน กันยายน เพื่อให้เป็นสากล การจัดกิจกรรมให้ทำในช่วยไตรมาส1-2 และไตรมาส 4 ไม่ควรมีการดำเนินงาน หลักสูตรกศน.รูปแบบใหม่ ให้ครูช่วยทำประชาพิจารณ์ก่อนเสนอ ความอยู่รอดของครูกศน./ครูศรช. มีคนไม่หวังดีขับรถโตโยสีขาวเข้าสอบถามในกศน.ตำบลในภาคอีสาน ขอให้ครูอยู่ในตำบลด้วย ครูกศน.ตำบลรับผิดชอบเด็ก 40 คน ครูศรช. 60 คน เน้นคุณภาพ นักศึกษาที่มีสภาพเกิน5 ปีให้ตัดทื้งเลย การจัดสื่อหนังสือไม่โปร่งใส่
จัดทำข้อมูลแหล่งเรียนรู้ในตำบล และกศน.ตำบลส่งงานสารสนเทศ และช่วยงานอาคารสถานที่จัดสถานที่ต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากสุโขทัยดูงานด้านเศรษฐกิจพอเพียง
ป้ายกำกับ
- บันทึกประจำวัน (310)
- บันทึกหลังสอน (28)
- แผนการจัดกระบวนการเรียนรู้รายสัปดาห์ (1)
- แผนการปฏิบัติงานสัปดาห์ (46)
- ระดร บันทึกหลังสอน (1)
- รายงานการจัดกิจกรรม (4)
- รายงานการอบรม (1)
- อบรมประชุมสัมมนา (3)
วันจันทร์ที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2558
วันอาทิตย์ที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2558
บันทึกประจำวันครูกศน.ตำบล
เข้ากศน.ตำบลพิชัย จัดการเรียนการสอนระดับประถม ภาษาอังกฤษฟังพูดเบื้องต้น การฟัง ม.ต้นทบทวนเนื้อหาบทเรียนวิชา วิทยาศาตร์เรียนมา ภาษาไทย สังคม ม.ปลาย ทบทวนเนื้อหาบทเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ ทักษะการเรียนรู้ ภาษาไทย และช่วยกันเก็บกวาดสถานที่ภายในกศน.
บันทึกหลังสอนครั้งที่ 17
วันที่ 23 สิงหาคม 2558
1. พบกลุ่มนักศึกษา
ระดับประถมศึกษา จำนวน 1 คน ผู้ขาดการพบกลุ่ม - คน
ระดับ ม.ต้น จำนวน 19 คน ผู้ขาดการพบกลุ่ม 7 คน
ระดับ ม.ปลาย จำนวน 42 คน ผู้ขาดการพบกลุ่ม 19 คน
2. ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ระดับประถมศึกษา วิชาที่สอน วิชาภาษาอังกฤษฟังพูดเบื้องต้น การฟัง และสอบระหว่างภาควิชาวิทยาศาสตร์
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ครูสนทนาในเนื้อหาที่เรียนร่วมกับผู้เรียน
เทคนิคการสอน ครูอธิบายเนื้อหา มอบหมายใบงานให้ผู้เรียนศึกษาและทำใบงาน
สื่อประกอบการเรียนรู้ แบบเรียน ใบความรู้
วิธีการประเมินผล ใบงาน จำนวน 2 ข้อ
ผลการเรียนรู้ของผู้เรียน ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาที่สอนจากการสังเกตและทำแบบทดสอบ
มอบกรต. ทบทวนบทเรียน
ระดับ ม.ต้น วิชาที่สอน ทบทวนเนื้อหาบทเรียนวิชาวิทยาศาตร์เรียนมา ภาษาไทย สังคม สอบครบหมวดวิชาแล้วและทดสอบระหว่างในรายวิชาที่ยังไม่ได้สอบต่อจากอาทิตย์ก่อน และนำเสนอโครงงานของระดับม.ต้น บางกลุ่มต้องไปแก้ไข
ระดับ ม.ปลาย ทบทวนเนื้อหาบทเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ ทักษะการเรียนรู้ ภาษาไทย เนื้องจากเรียนครบวิชาแล้ว และสอบระหว่างภาคในวิชาที่ยังไม่ได้สอบต่อจากอาทิตย์ก่อน
3. ปัญหาการจัดการเรียนการสอน
ผู้เรียนทำใบงานส่งไม่ท้น
วิธีแก้ไข ครูแนะนำให้นำมาทำในเวลาเพื่อลดภาระงานที่จะทำที่บ้าน
วันนี้ได้สอนผู้เรียนเช็คเกรด วิชาที่ลงทะเบียน และกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต นักศึกษาตื่นเต้นกันมากที่ได้ใช้โปรกแกรมนี้ และทำให้รู้ข้อมูลด้านการลงทะเบียน รหัสวิชา จำนวนกพช ที่อยากรู้มานานแล้ว ทุกคนตั้งใจฟังการอธิบายของครูผู้สอนอย่างตั้งใจมีการแลกเปลี่ยนกับครูผู้สอนอย่างต่อเนื่อง นักศึกษาบางคนสมัครไม่ได้ก็มีความพยายาทำไม่ได้จริงๆก็มาให้ครูผู้สอนอธิบาย การเรียนรู้การเช็ดเกรด วิชาที่เรียน และกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต เป็นไปอย่างสนุกสนาน
1. พบกลุ่มนักศึกษา
ระดับประถมศึกษา จำนวน 1 คน ผู้ขาดการพบกลุ่ม - คน
ระดับ ม.ต้น จำนวน 19 คน ผู้ขาดการพบกลุ่ม 7 คน
ระดับ ม.ปลาย จำนวน 42 คน ผู้ขาดการพบกลุ่ม 19 คน
2. ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ระดับประถมศึกษา วิชาที่สอน วิชาภาษาอังกฤษฟังพูดเบื้องต้น การฟัง และสอบระหว่างภาควิชาวิทยาศาสตร์
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ครูสนทนาในเนื้อหาที่เรียนร่วมกับผู้เรียน
เทคนิคการสอน ครูอธิบายเนื้อหา มอบหมายใบงานให้ผู้เรียนศึกษาและทำใบงาน
สื่อประกอบการเรียนรู้ แบบเรียน ใบความรู้
วิธีการประเมินผล ใบงาน จำนวน 2 ข้อ
ผลการเรียนรู้ของผู้เรียน ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาที่สอนจากการสังเกตและทำแบบทดสอบ
มอบกรต. ทบทวนบทเรียน
ระดับ ม.ต้น วิชาที่สอน ทบทวนเนื้อหาบทเรียนวิชาวิทยาศาตร์เรียนมา ภาษาไทย สังคม สอบครบหมวดวิชาแล้วและทดสอบระหว่างในรายวิชาที่ยังไม่ได้สอบต่อจากอาทิตย์ก่อน และนำเสนอโครงงานของระดับม.ต้น บางกลุ่มต้องไปแก้ไข
ระดับ ม.ปลาย ทบทวนเนื้อหาบทเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ ทักษะการเรียนรู้ ภาษาไทย เนื้องจากเรียนครบวิชาแล้ว และสอบระหว่างภาคในวิชาที่ยังไม่ได้สอบต่อจากอาทิตย์ก่อน
3. ปัญหาการจัดการเรียนการสอน
ผู้เรียนทำใบงานส่งไม่ท้น
วิธีแก้ไข ครูแนะนำให้นำมาทำในเวลาเพื่อลดภาระงานที่จะทำที่บ้าน
วันนี้ได้สอนผู้เรียนเช็คเกรด วิชาที่ลงทะเบียน และกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต นักศึกษาตื่นเต้นกันมากที่ได้ใช้โปรกแกรมนี้ และทำให้รู้ข้อมูลด้านการลงทะเบียน รหัสวิชา จำนวนกพช ที่อยากรู้มานานแล้ว ทุกคนตั้งใจฟังการอธิบายของครูผู้สอนอย่างตั้งใจมีการแลกเปลี่ยนกับครูผู้สอนอย่างต่อเนื่อง นักศึกษาบางคนสมัครไม่ได้ก็มีความพยายาทำไม่ได้จริงๆก็มาให้ครูผู้สอนอธิบาย การเรียนรู้การเช็ดเกรด วิชาที่เรียน และกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต เป็นไปอย่างสนุกสนาน
แผนปฏิบัติงานประจำสัปดาห์ครูกศน.ตำบล
แผนปฏิบัติงานครูกศน.พิชัย
ประจำวันที่ วันที่
1 -6 กันยายน 2558
วัน เดือน
ปี
|
รายงาน
|
พื้นที่ปฏิบัติงาน
|
หมายเหตุ
|
1 กันยายน 58
|
- เข้ากศน.ตำบลพิชัย คียืข้อมูลSAR
ด้านสุขภาพกายและจิต ภาคเรียน 1/58
- เขียนบันทึกประจำวัน
|
กศน.พิชัย
|
|
2 กันยายน 58
|
- เข้ากศน.ตำบลพิชัย
- ทำข้อมูลsar ข้อ 1.7
- เขียนบันทึกประจำวันวัน
|
กศน.ตำบลพิชัย
|
|
3 กันยายน 58
|
- เข้ากศน.ตำบลพิชัย
- ทำสรุปแบบประเมินครูกศน.
- เขียนบันทึกประจำวันวัน
|
กศน.ตำบลพิชัย
|
|
4 กันยายน 58
|
- เข้ากศน.ตำบลพิชัย
- ตรวจข้อสอบระหว่างระดับประถม
ม.ต้น ม.ปลาย และจัดทำสมุดประเมินระดับระดับประถม
- เขียนบันทึกประจำวันวัน
|
กศน.ตำบลพิชัย
|
|
5 กันยายน 58
|
- วันหยุด
|
|
|
6 กันยายน 58
|
- จัดการเรียนการสอนระดับประถม ม.ต้น ม.ปลาย
|
กศน.ตำบลพิชัย
|
|
วันเสาร์ที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2558
บันประจำวันครูกศน.ตำบล
วันนี้เป็นวันหยุด เข้ากศน.ตำบลพิชัยจัดเตรียมข้อสอบสำหรับนักศึกษาสอบวันพรุ่งนี้และคึย์ข้อมูลในโปรแกรมรายงานผลการดำเนินงานกศน.ตำบลตามแผนปฏิบัติการประจำปี เสร็จไปแล้ว1 ภาคเรียนในด้านสุขภาพกายลและจิต ซึ่งอาจารย์เอกอนันต์ทำได้ดีและคอยแก้ไขให้เมื่อพบปัญหาเพื่อให้คนที่คีย์ข้อมูลของตนเองจะได้ไม่พบปัญหาเหมือนกับเราที่เจอ คิดว่าตอนนี้โปรแกรมทำได้เกือบ 80 เปอร์เซ็นต์แค่คีย์ข้อมูลพื้นฐาน ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 ด้านสุขภาพกายและจิตใช้ได้แล้วประมวลผล และคิดว่าวันจันทร์คงเสร็จสมบูรณ์สมบูรณ์ ขอบคุณท่านผอและน้องอนันต์มากคะที่ได้ให้โปรแกรมดีๆแบบนี้
วันศุกร์ที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2558
บันทึกประจำวันครูกศน.ตำบล
ร่วมพิธีเปิดงานกีฬาต้านยาเสพติด พร้อมครูทุกประเภท เจ้าหน้าที่ นักศึกษา ประธานในพิธีคือนายกองค์การบริหารส่วนตำบลพิชัย นายมานิตย์ อุ่นเครือ ผู้กล่าวราายงานคือ อาจารย์ยุรัยา อินทรวิจิตร หัวหน้ากลุ่มจัดการศึกษานอกระบบฯ รักษาการในตำแหน่งผอ.กศน.อำเภอเมืองลำปาง และเข้ากศน.เมือง ทำข้อมูลรายงานสรุปโครงการกลุ่มงานสารสนเทศ และคีย์ประวัติรายบุคคลเพื่อ ประกอบการทำSar และทำข้อทดสอบระหว่างภาคในวิชาที่ยังไม่ได้สอบต่อจากอาทิตยฺ์ก่อน
วันพฤหัสบดีที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2558
บันทึกประจำวันครูกศน.ตำบล
วันนี้ได้นำเช็คไปให้วิทยากรทักษะชีวิต และเข้ากศน.อำเภอเมืองลำปางทำสรุปโครงการปี58 ในแต่ละงานกรอกในแบบรายงาน ยังไม่เสร็จ ต้องรับชมรายการการถ่ายทอดETVรับฟังนโยบายของรัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการ พร้อมคณะข้าราชการครูและครูทุกประเภท โดยการนำของอาจารย์ยุรัยยา อินทรวิจิตร หัวหน้ากลุ่มจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
นายดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการทรวงศึกษาธิการ ให้นโยบายดังนี้
ทัศนคติในการทำงาน กระแสพระราชดำรัสเกี่ยวกับการปฏิรูปการศึกษาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
“ให้ครูรักเด็กและเด็กรักครู”
“ให้ครูสอนเด็กให้มีน้ำใจต่อเพื่อน ไม่ให้แข่งขันกัน แต่ให้แข่งกับตัวเอง ให้เด็กที่เรียนเก่งกว่า ช่วยสอนเพื่อนที่เรียนช้ากว่า”
“ให้ครูจัดกิจกรรมให้เด็กทำร่วมกัน เพื่อให้เห็นคุณค่าของความสามัคคี”
นโยบายนายกรัฐมนตรี
1) ทำให้เร็ว มีผลสัมฤทธิ์ภายใน ก.ย.๕๙ ให้มากที่สุด ที่เหลือส่งต่อให้รัฐบาลต่อไป
2) ประชาชน สังคมพึงพอใจ ประเทศได้คนมีคุณภาพ
3) ปรับ ลดภาระงานที่ไม่จำเป็นของ ศธ. ลง
4) เร่งปรับหลักสูตร/ตำรา แต่ละกลุ่มให้เหมาะสม การพิมพ์ตำรา ต้องคุ้มราคา
5) ผลิตคนให้ทันกับความต้องการของประเทศ จบแล้วต้องมีงานทำ เข้าทำงาน AEC
ให้ทันปีนี้ ช่วยแก้ไขปัญหาว่างงาน และปัญหาสังคมได้
6) ปรับหลักสูตรทำให้เด็ก ครู ผู้ปกครองมีความสุข
7) ใช้สื่อการสอน กระตุ้นผู้เรียนเพื่อสร้างแรงจูงใจในการเรียนรู้กับเด็ก
8) ลดความเหลื่อมล้ำ จัดการศึกษาให้ทั่วถึง เท่าเทียม และมีคุณภาพ
9) นำระบบ ICT เข้ามาใช้จัดการเรียนรู้อย่างเป็นรูปธรรมและกว้างขวาง
10) เรียนไม่ใช่เพื่อสอบ แต่เรียนให้ได้ทักษะชีวิต อยู่ในยุคโลกไร้พรมแดน
นโยบาย
1. การจัดทำแผนงานโครงการเริ่มใหม่ทั่วไป
ต้องเข้าใจจุดหมายว่าทำเพื่ออะไร ต้องวาดภาพงาน ลงในรายละเอียดให้เห็นว่าอะไรคืองานหลักแล้วมีงานรองอะไรบ้างที่ต้องทำเพื่อให้บรรลุงานหลัก อะไรที่ต้องทำก่อน อะไรที่ต้องทำที่หลัง
หาปัญหาที่ผ่านมาทำไมทำไม่สำเร็จ เช่น ปัญหาอยู่ที่อายุของนักเรียน ปัญหาอยู่ที่ครู ปัญหาอยู่ที่พ่อแม่ ปัญหาอยู่ที่สภาวะแวดล้อม เพราะบางครั้งไม่สามารถแก้ได้ด้วยวิธีใดวิธีเดียว
แผนงาน/โครงการพระราชดำริ
โครงการอะไรบ้างที่กระทรวงศึกษาเกี่ยวข้องหรือรับผิดชอบโดยตรง
โครงการไหน เป็นดำริของพระองค์ใด ทำแล้ว และกระทรวงศึกษาให้การสนับสนุนอย่างไร
งบประมาณ
โดยเฉพาะงบลงทุน ให้วางแผนโครงการในงบลงทุนในไตรมาสแรกมาเลย
การเสนองบกลางให้เฉพาะที่จำเป็นเท่านั้น
การทำแผนงานโครงการบางอย่างไม่ต้องใช้งบประมาณใช้งบปกติที่ได้รับ
ใช้การปรับแผนงานที่ไม่ได้ผลสัมฤทธิ์
โปร่งใส ตรวจสอบได้
เช่น การเกิดอุบัติเหตุในโรงเรียน/ นอกโรงเรียน, ผู้บริหารถูกกล่าวหา, การรวมตัวกันต่อต้านผู้อำนวยการโรงเรียน นักเรียนปวดท้องอาเจียนยกชั้น โรงเรียนถูกขู่วางระเบิด เกิดวาตภัย ฯลฯ ให้ทุกหน่วยไปกำหนดขั้นตอนการปฏิบัติ (อาจจะมีอยู่แล้วให้ไปปรับปรุง หรือ ทำการซักซ้อม) อย่างน้อยต้องมีรายละเอียด
- ใครต้อง Take Action
- การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า ระยะสั้น และระยะยาวทำอย่างไร
- การรายงานด่วน ฯลฯ
7. การร่วมมือกับภาคเอกชนและภาคประชาสังคม
ให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมให้ครบวงจร เช่น เข้ามาร่วมกำหนดหลักสูตร
การรับนักเรียนเข้าไปทำงานขณะที่ยังศึกษาอยู่ การรับนักเรียนเมื่อจบการศึกษา เข้าทำงาน
8. จะให้ความสำคัญ กับการบริหารงานส่วนภูมิภาคและเขตพื้นที่ต่างๆ ของแต่ละแท่ง
ทบทวนบทบาทหน้าที่
สิ่งใดที่ต้องรู้ และยังไม่รู้
สิ่งอำนวยความสะดวกพอเพียงหรือไม่
9. โครงการจัดอบรมสัมมนา ต้องตอบโจทย์ที่ตั้งไว้ ใครควรเข้าร่วมการ สัมมนาผลลัพธ์ที่ต้องการ เนื้อหาต้องสัมพันธ์
10. ยกระดับมาตรฐานภาษาอังกฤษในทุกหลักสูตร
11. ให้มีการนำ ICT เข้ามาใช้ในการบริหารงานในกระทรวงอย่างกว้างขวาง เช่น
ปัจจุบันได้ดำเนินการศูนย์ศึกษาทางไกล (DL ไทยแลนด์) ให้บูรณาการเข้ากับสถานีวิทยุเพื่อการศึกษากระทรวงศึกษาธิการ ( ETV) และเครือข่ายของอุดมศึกษาโดยใช้เป็นช่องทางในการสื่อสารเพื่อ
1) ใช้ในการจัดการศึกษา
2) ใช้ในการเสมาสนเทศ
3) ใช้ในการประชาสนเทศ
12. ให้ความสำคัญกับเทคนิคการสอนและการสื่อความหมาย
13. ให้ความสำคัญกับเทคนิคการสอนและการสื่อความหมาย
ให้ความสำคัญกับธงชาติ
ความสะอาดในพื้นที่รับผิดชอบทุกระดับในเขตพื้นที่
การรักษาความปลอดภัย
แผนเผชิญเหตุ
14.ให้ลดภาระงานที่ไม่เกี่ยวกับการเรียนการสอนของครู เพื่อให้ครูมีเวลาทุ่มเทให้กับการเรียนการสอนของนักเรียนอย่างจริงจัง
15. การประเมินเพื่อความก้าวหน้าต้องสอดคล้องกับผลการพัฒนาผู้เรียน ทั้งความรู้และคุณลักษณะและทักษะชีวิต
16. การแก้ไขปัญหาการจัดการศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ อาทิเช่น - โครงการเร่งรัดการขับเคลื่อนตามแผน จชต.
17. ให้ลดภาระงานที่ไม่เกี่ยวกับการเรียนการสอน การนำเด็กนักเรียน ครู ออกนอกห้องเรียน - Ok ถ้าเป็นการทัศนศึกษา หรือเสริมสร้างประสบการณ์ เช่น รำอวยพร การแสดง ไม่ Ok ถ้าไปยืนต้อนรับผู้บริหาร
นโยบายด้านการปราบปรามการทุจริต
1. ห้ามการซื้อขายตำแหน่ง หรือเสียเงินเพื่อการย้ายที่
2. หน่วยงานที่มีรายได้ ขอให้ไปตรวจสอบว่ามีการทุจริตหรือไม่ หากพบ
ดำเนินการสอบสวนหาผู้กระทำผิดและดำเนินคดีตามกฎหมายให้ได้ ตรวจสอบช่องว่างที่ทำให้เกิดความทุจริตที่ตรวจพบนั้น ๆ และทำการแก้ไข ปรับปรุงระบบ/ระเบียบ รวมถึงมาตรการมาควบคุมเพื่อไม่ให้เกิดขึ้นอีก
3. หลังจากเดือน ธ.ค. จะเริ่มมีการสุ่มตรวจ หากพบการทุจริต ผู้บังคับบัญชาต้องรับผิดชอบด้วยฐานปล่อยปละละเลย
สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (สำนักงาน กศน.)
สำนักงาน กศน.ดำเนินการในภารกิจ ดังนี้
1. จัดการศึกษาเพื่อขยายโอกาสทางการศึกษาและส่งเสริมให้ประชาชนที่พลาดโอกาสทางการศึกษาในระบบโรงเรียนสามารถหาความรู้ด้วยตนเองอย่างกว้างขวางและต่อเนื่อง โดยจัดการศึกษาทั้งในระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย เพื่อนำความรู้ไปประกอบอาชีพหรือเป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น และจัดกิจกรรมที่เสริมสร้างโอกาสทางการศึกษา ลดความเหลื่อมล้ำ โดยจัดโครงการติวเข้มเติมเต็มความรู้ เพื่อเสริมสร้าง เพิ่มและกระจายโอกาสทางการศึกษาให้เกิดความเท่าเทียมกันทั้งในเมืองและชนบท
2. เร่งสร้างค่านิยมอาชีวศึกษาโดยจัดโครงการเรียนร่วมหลักสูตรอาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลายของสำนักงาน กศน. เพื่อผลิตและพัฒนากำลังคนด้านอาชีวศึกษาให้เพิ่มมากขึ้น และตรงกับความต้องการของตลาดแรงงานและการจ้างงานทั้งภาคธุรกิจบริการ ภาคอุตสาหกรรม และภาคการเกษตร
3. จัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ เพื่อให้คนทุกช่วงวัย ได้รับโอกาสทางการศึกษาอย่างทั่วถึงและมีคุณภาพทั้งด้านภาษา การเปิดโลกทัศน์ เกษตรธรรมชาติ กีฬาสายสัมพันธ์ การฝึกอาชีพ การพัฒนาศักยภาพครู พนักงานราชการ และบุคลากรทางการศึกษา ตลอดจนติดตามและประสานแผนการดำเนิน งานให้บรรลุผลสำเร็จ
4. ดำเนินการปลูกฝังและสร้างอุดมการณ์ให้นักศึกษา กศน. และประชาชน มีความตระหนักในความเป็นชาติ กระตุ้นให้เกิดความรักชาติ และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์เป็นศูนย์รวมจิตใจ และความรักความสามัคคีของประชาชนในชาติ สามารถนำไปถ่ายทอดและขยายผลในวงกว้าง
5. กำหนดให้ กศน. ตำบล เป็นกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนการเชื่อมประสานระหว่าง บ้าน วัด โรงเรียน เพื่อเพิ่มแหล่งเรียนรู้ให้แก่ประชาชนในพื้นที่ โดยดำเนินการในรูปของคณะกรรมการ กศน. ตำบลในวัด ประกอบไปด้วย คณะกรรมการสถานศึกษา เจ้าอาวาสหรือผู้นำทางศาสนา ผู้นำท้องถิ่น ภูมิปัญญาท้องถิ่น เครือข่ายในชุมชน
6. พัฒนาคนทุกช่วงวัยโดยส่งเสริม การเรียนรู้ตลอดชีวิต เพื่อให้สามารถมีความรู้และทักษะใหม่ที่สามารถประกอบอาชีพ ได้หลากหลายตามแนวโน้มการจ้างงานในอนาคต ปรับกระบวนการเรียนรู้และหลักสูตร ให้เชื่อมโยงกับภูมิสังคม โดยบูรณาการความรู้และคุณธรรมเข้าด้วยกันเพื่อให้เอื้อต่อ การพัฒนาผู้เรียนรู้ทั้งในด้านความรู้ทักษะการใฝ่เรียนรู้ แก้ปัญหาการรับฟังความเห็นผู้อื่นการมีคุณธรรม จริยธรรมและความเป็นพลเมืองดี โดยเน้นความร่วมมือระหว่างผู้ที่เกี่ยวข้องทั้งในและนอกโรงเรียน
นายดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการทรวงศึกษาธิการ ให้นโยบายดังนี้
ทัศนคติในการทำงาน กระแสพระราชดำรัสเกี่ยวกับการปฏิรูปการศึกษาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
“ให้ครูรักเด็กและเด็กรักครู”
“ให้ครูสอนเด็กให้มีน้ำใจต่อเพื่อน ไม่ให้แข่งขันกัน แต่ให้แข่งกับตัวเอง ให้เด็กที่เรียนเก่งกว่า ช่วยสอนเพื่อนที่เรียนช้ากว่า”
“ให้ครูจัดกิจกรรมให้เด็กทำร่วมกัน เพื่อให้เห็นคุณค่าของความสามัคคี”
นโยบายนายกรัฐมนตรี
1) ทำให้เร็ว มีผลสัมฤทธิ์ภายใน ก.ย.๕๙ ให้มากที่สุด ที่เหลือส่งต่อให้รัฐบาลต่อไป
2) ประชาชน สังคมพึงพอใจ ประเทศได้คนมีคุณภาพ
3) ปรับ ลดภาระงานที่ไม่จำเป็นของ ศธ. ลง
4) เร่งปรับหลักสูตร/ตำรา แต่ละกลุ่มให้เหมาะสม การพิมพ์ตำรา ต้องคุ้มราคา
5) ผลิตคนให้ทันกับความต้องการของประเทศ จบแล้วต้องมีงานทำ เข้าทำงาน AEC
ให้ทันปีนี้ ช่วยแก้ไขปัญหาว่างงาน และปัญหาสังคมได้
6) ปรับหลักสูตรทำให้เด็ก ครู ผู้ปกครองมีความสุข
7) ใช้สื่อการสอน กระตุ้นผู้เรียนเพื่อสร้างแรงจูงใจในการเรียนรู้กับเด็ก
8) ลดความเหลื่อมล้ำ จัดการศึกษาให้ทั่วถึง เท่าเทียม และมีคุณภาพ
9) นำระบบ ICT เข้ามาใช้จัดการเรียนรู้อย่างเป็นรูปธรรมและกว้างขวาง
10) เรียนไม่ใช่เพื่อสอบ แต่เรียนให้ได้ทักษะชีวิต อยู่ในยุคโลกไร้พรมแดน
นโยบาย
1. การจัดทำแผนงานโครงการเริ่มใหม่ทั่วไป
ต้องเข้าใจจุดหมายว่าทำเพื่ออะไร ต้องวาดภาพงาน ลงในรายละเอียดให้เห็นว่าอะไรคืองานหลักแล้วมีงานรองอะไรบ้างที่ต้องทำเพื่อให้บรรลุงานหลัก อะไรที่ต้องทำก่อน อะไรที่ต้องทำที่หลัง
ต้องมีฐานข้อมูลที่แน่น เช่น จะผลิตนักศึกษาอาชีวะ ต้องรู้ว่าตลาดต้องการสาขาอะไรบ้างแต่ละสาขา ต้องการกี่คน ฐานข้อมูลที่ดีจะทำให้การวิเคราะห์ แม่นยำ
2. การปรับปรุงแผนงาน/โครงการเดิมที่ไม่สัมฤทธิ์ผล หาปัญหาที่ผ่านมาทำไมทำไม่สำเร็จ เช่น ปัญหาอยู่ที่อายุของนักเรียน ปัญหาอยู่ที่ครู ปัญหาอยู่ที่พ่อแม่ ปัญหาอยู่ที่สภาวะแวดล้อม เพราะบางครั้งไม่สามารถแก้ได้ด้วยวิธีใดวิธีเดียว
แผนงาน/โครงการพระราชดำริ
โครงการอะไรบ้างที่กระทรวงศึกษาเกี่ยวข้องหรือรับผิดชอบโดยตรง
โครงการไหน เป็นดำริของพระองค์ใด ทำแล้ว และกระทรวงศึกษาให้การสนับสนุนอย่างไร
งบประมาณ
โดยเฉพาะงบลงทุน ให้วางแผนโครงการในงบลงทุนในไตรมาสแรกมาเลย
การเสนองบกลางให้เฉพาะที่จำเป็นเท่านั้น
การทำแผนงานโครงการบางอย่างไม่ต้องใช้งบประมาณใช้งบปกติที่ได้รับ
ใช้การปรับแผนงานที่ไม่ได้ผลสัมฤทธิ์
โปร่งใส ตรวจสอบได้
ในงานบางโครงการต้องมีการบูรณาการ
งบประมาณข้ามแท่ง ก่อนไปบูรณาการ
กับสำนักงบประมาณ
1) จัดให้มีช่องทางการสื่อสาร อย่างเป็นระบบ นำ เทคโนโลยีเข้ามาช่วย (การประชุมทางไกล โปรแกรม ไลน์ ฯลฯ) เพื่อใช้ในการ
- สร้างความเข้าใจในองค์กร
- สามารถถ่ายทอดคำสั่งไปยังหน่วยรองได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว
- การรายงานเหตุการณ์ ได้อย่างรวดเร็ว
2) ทุกหน่วยต้องจัดให้มีแผนการประชาสัมพันธ์
- เสมาสนเทศ
- ประชาสนเทศ
6. อำนวยการเมื่อเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉิน งบประมาณข้ามแท่ง ก่อนไปบูรณาการ
กับสำนักงบประมาณ
1) จัดให้มีช่องทางการสื่อสาร อย่างเป็นระบบ นำ เทคโนโลยีเข้ามาช่วย (การประชุมทางไกล โปรแกรม ไลน์ ฯลฯ) เพื่อใช้ในการ
- สร้างความเข้าใจในองค์กร
- สามารถถ่ายทอดคำสั่งไปยังหน่วยรองได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว
- การรายงานเหตุการณ์ ได้อย่างรวดเร็ว
2) ทุกหน่วยต้องจัดให้มีแผนการประชาสัมพันธ์
- เสมาสนเทศ
- ประชาสนเทศ
เช่น การเกิดอุบัติเหตุในโรงเรียน/ นอกโรงเรียน, ผู้บริหารถูกกล่าวหา, การรวมตัวกันต่อต้านผู้อำนวยการโรงเรียน นักเรียนปวดท้องอาเจียนยกชั้น โรงเรียนถูกขู่วางระเบิด เกิดวาตภัย ฯลฯ ให้ทุกหน่วยไปกำหนดขั้นตอนการปฏิบัติ (อาจจะมีอยู่แล้วให้ไปปรับปรุง หรือ ทำการซักซ้อม) อย่างน้อยต้องมีรายละเอียด
- ใครต้อง Take Action
- การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า ระยะสั้น และระยะยาวทำอย่างไร
- การรายงานด่วน ฯลฯ
7. การร่วมมือกับภาคเอกชนและภาคประชาสังคม
ให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมให้ครบวงจร เช่น เข้ามาร่วมกำหนดหลักสูตร
การรับนักเรียนเข้าไปทำงานขณะที่ยังศึกษาอยู่ การรับนักเรียนเมื่อจบการศึกษา เข้าทำงาน
8. จะให้ความสำคัญ กับการบริหารงานส่วนภูมิภาคและเขตพื้นที่ต่างๆ ของแต่ละแท่ง
ทบทวนบทบาทหน้าที่
สิ่งใดที่ต้องรู้ และยังไม่รู้
สิ่งอำนวยความสะดวกพอเพียงหรือไม่
9. โครงการจัดอบรมสัมมนา ต้องตอบโจทย์ที่ตั้งไว้ ใครควรเข้าร่วมการ สัมมนาผลลัพธ์ที่ต้องการ เนื้อหาต้องสัมพันธ์
10. ยกระดับมาตรฐานภาษาอังกฤษในทุกหลักสูตร
11. ให้มีการนำ ICT เข้ามาใช้ในการบริหารงานในกระทรวงอย่างกว้างขวาง เช่น
ปัจจุบันได้ดำเนินการศูนย์ศึกษาทางไกล (DL ไทยแลนด์) ให้บูรณาการเข้ากับสถานีวิทยุเพื่อการศึกษากระทรวงศึกษาธิการ ( ETV) และเครือข่ายของอุดมศึกษาโดยใช้เป็นช่องทางในการสื่อสารเพื่อ
1) ใช้ในการจัดการศึกษา
2) ใช้ในการเสมาสนเทศ
3) ใช้ในการประชาสนเทศ
12. ให้ความสำคัญกับเทคนิคการสอนและการสื่อความหมาย
13. ให้ความสำคัญกับเทคนิคการสอนและการสื่อความหมาย
ให้ความสำคัญกับธงชาติ
ความสะอาดในพื้นที่รับผิดชอบทุกระดับในเขตพื้นที่
การรักษาความปลอดภัย
แผนเผชิญเหตุ
14.ให้ลดภาระงานที่ไม่เกี่ยวกับการเรียนการสอนของครู เพื่อให้ครูมีเวลาทุ่มเทให้กับการเรียนการสอนของนักเรียนอย่างจริงจัง
15. การประเมินเพื่อความก้าวหน้าต้องสอดคล้องกับผลการพัฒนาผู้เรียน ทั้งความรู้และคุณลักษณะและทักษะชีวิต
16. การแก้ไขปัญหาการจัดการศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ อาทิเช่น - โครงการเร่งรัดการขับเคลื่อนตามแผน จชต.
17. ให้ลดภาระงานที่ไม่เกี่ยวกับการเรียนการสอน การนำเด็กนักเรียน ครู ออกนอกห้องเรียน - Ok ถ้าเป็นการทัศนศึกษา หรือเสริมสร้างประสบการณ์ เช่น รำอวยพร การแสดง ไม่ Ok ถ้าไปยืนต้อนรับผู้บริหาร
นโยบายด้านการปราบปรามการทุจริต
1. ห้ามการซื้อขายตำแหน่ง หรือเสียเงินเพื่อการย้ายที่
2. หน่วยงานที่มีรายได้ ขอให้ไปตรวจสอบว่ามีการทุจริตหรือไม่ หากพบ
ดำเนินการสอบสวนหาผู้กระทำผิดและดำเนินคดีตามกฎหมายให้ได้ ตรวจสอบช่องว่างที่ทำให้เกิดความทุจริตที่ตรวจพบนั้น ๆ และทำการแก้ไข ปรับปรุงระบบ/ระเบียบ รวมถึงมาตรการมาควบคุมเพื่อไม่ให้เกิดขึ้นอีก
3. หลังจากเดือน ธ.ค. จะเริ่มมีการสุ่มตรวจ หากพบการทุจริต ผู้บังคับบัญชาต้องรับผิดชอบด้วยฐานปล่อยปละละเลย
สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (สำนักงาน กศน.)
สำนักงาน กศน.ดำเนินการในภารกิจ ดังนี้
1. จัดการศึกษาเพื่อขยายโอกาสทางการศึกษาและส่งเสริมให้ประชาชนที่พลาดโอกาสทางการศึกษาในระบบโรงเรียนสามารถหาความรู้ด้วยตนเองอย่างกว้างขวางและต่อเนื่อง โดยจัดการศึกษาทั้งในระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย เพื่อนำความรู้ไปประกอบอาชีพหรือเป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น และจัดกิจกรรมที่เสริมสร้างโอกาสทางการศึกษา ลดความเหลื่อมล้ำ โดยจัดโครงการติวเข้มเติมเต็มความรู้ เพื่อเสริมสร้าง เพิ่มและกระจายโอกาสทางการศึกษาให้เกิดความเท่าเทียมกันทั้งในเมืองและชนบท
2. เร่งสร้างค่านิยมอาชีวศึกษาโดยจัดโครงการเรียนร่วมหลักสูตรอาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลายของสำนักงาน กศน. เพื่อผลิตและพัฒนากำลังคนด้านอาชีวศึกษาให้เพิ่มมากขึ้น และตรงกับความต้องการของตลาดแรงงานและการจ้างงานทั้งภาคธุรกิจบริการ ภาคอุตสาหกรรม และภาคการเกษตร
3. จัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ เพื่อให้คนทุกช่วงวัย ได้รับโอกาสทางการศึกษาอย่างทั่วถึงและมีคุณภาพทั้งด้านภาษา การเปิดโลกทัศน์ เกษตรธรรมชาติ กีฬาสายสัมพันธ์ การฝึกอาชีพ การพัฒนาศักยภาพครู พนักงานราชการ และบุคลากรทางการศึกษา ตลอดจนติดตามและประสานแผนการดำเนิน งานให้บรรลุผลสำเร็จ
4. ดำเนินการปลูกฝังและสร้างอุดมการณ์ให้นักศึกษา กศน. และประชาชน มีความตระหนักในความเป็นชาติ กระตุ้นให้เกิดความรักชาติ และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์เป็นศูนย์รวมจิตใจ และความรักความสามัคคีของประชาชนในชาติ สามารถนำไปถ่ายทอดและขยายผลในวงกว้าง
5. กำหนดให้ กศน. ตำบล เป็นกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนการเชื่อมประสานระหว่าง บ้าน วัด โรงเรียน เพื่อเพิ่มแหล่งเรียนรู้ให้แก่ประชาชนในพื้นที่ โดยดำเนินการในรูปของคณะกรรมการ กศน. ตำบลในวัด ประกอบไปด้วย คณะกรรมการสถานศึกษา เจ้าอาวาสหรือผู้นำทางศาสนา ผู้นำท้องถิ่น ภูมิปัญญาท้องถิ่น เครือข่ายในชุมชน
6. พัฒนาคนทุกช่วงวัยโดยส่งเสริม การเรียนรู้ตลอดชีวิต เพื่อให้สามารถมีความรู้และทักษะใหม่ที่สามารถประกอบอาชีพ ได้หลากหลายตามแนวโน้มการจ้างงานในอนาคต ปรับกระบวนการเรียนรู้และหลักสูตร ให้เชื่อมโยงกับภูมิสังคม โดยบูรณาการความรู้และคุณธรรมเข้าด้วยกันเพื่อให้เอื้อต่อ การพัฒนาผู้เรียนรู้ทั้งในด้านความรู้ทักษะการใฝ่เรียนรู้ แก้ปัญหาการรับฟังความเห็นผู้อื่นการมีคุณธรรม จริยธรรมและความเป็นพลเมืองดี โดยเน้นความร่วมมือระหว่างผู้ที่เกี่ยวข้องทั้งในและนอกโรงเรียน
วันพุธที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2558
บันทึกประจำวันครูกศน.ตำบล
เข้าร่วมสนาทนากลุ่มย่อย(Focus group)ผู้จบหลักสูตรอาเซียนศึกษา ตามโครงการจจัดการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาบุคลากรกศน. ด้านอาเซียนศึกษา ณ ห้องประชุม1 สถาบันทางไกล กศน.ภาคเหนือ พร้อมครูกศน.ตำบลบ้านเป้า พระบาท บ้านเอื้อม กล้วยแพะ และครูกศน.อำเภอแม่ทะ 3 คน โดยได้สนทนาในประเด็น เช่น ได้นำความรู้และประสบการณ์ที่ได้เรียนรู้หลักสูตรมาใช้ประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานได้อย่างไร และนำจะนำประสบการณ์ที่ได้รับจากการเรียนเรียนตามโครงการก่อให้เกิดประโยชน์ด้านใดบ้าง ได้รับประโยชน์มากน้อยเพียงใด ต้องการให้สถาบันกศน.จัดโครงการพัฒนาบุคลากรในลักษณะนี้ (พัมนาหลักสูตร สื่ิอ และใช้กระบวนการทางไกล) อีกหรือหรือเพราะเหตุใด หากต้องการ หัวข้อประเด็น เนื้อหาที่ต้องการให้สำนักงานกศน.ดำเนินการ โดยร่วมกันแสดงความคิดเห็นตามประเด็นและช่วยกันสรุปดดังนีั
ประสบการณ์ที่ได้จาการเรียนรู้ในหลักสูตรตามโครงการ นำความรู้ที่ได้จากการเรียนไปจัดการเรียนการสอน โดยจัดทำแผนการสอนและใช้สื่ออินเตอร์เน็ต สื่อเอกสาร จากมุมอาเซียนที่กศน.ตำบลจัดให้ และจัดกิจกรรมต่างๆที่เกี่ยวข้อง มีความรู้เกี่ยวกับประเทศต่างๆในอาเซียนมากขึ้น ประวัติความเป็นมา ภาษาวัฒนธรรม ธงชาติ อาหาร และการแต่งกาย
ประโยชน์ต่อผู้เรียน ผู้รับบริการ กลุ่มเป้าหมายผู้รับผิดชอบ
ต่อผู้เรียน
นำความรูจากการเรียนไปใช้ในชีวิตประจำวัน ผู้เรียนมีความรู้เพิ่มขึ้น โดยนำความรู้จากการไปทำงานต่างประเทศมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างครูและผู้เรียนด้วยกัน นำความรู้ไปสอนต่อให้ลูก
ต่อสถานศึกษา
เป็นจุดประชาสัมพันธ์ถ่ายทอดความรู้และกิจกรรมเกี่ยวกับอาเซียนทั้งระดับตำบล อำเภอและจังหวัด(ในกศน.ตำบลพ และห้องสมุดประชาชน
ในภาพรวมคิดว่าได้รับประโยชน์ ค่อนข้างมาก ได้เทคนิคการจัดการเรียนการสอน ได้ความรู้เพิ่มเติมในด้านเนื้อหา การจัดทำใบงาน ใบความรู้ให้ผู้เรียน ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ได้สื่อเอกสาร และสื่อวีซีดี เพื่อใช้ในการจัดการเรียนการสอน
หัวข้อที่ต้องการให้สำนักงานกศน.ดำเนินการได้แก่ เทคนิคการสร้างสื่อ เช่นสื่อ มัลติมิเดีย เทคนิคการออกแบบสื่อประชาสัมพันธ์ รูปแบบต่างๆ การพัฒนาหลักสูตร รายวิชาเลือก
บ่ายเข้ากศน.เมืองลำปาง ทำรายงานสำรวจบ้านหนังสือส่งงานภาคี และคีย์ข้อมูลรายบุคคล และได้เรียนรู้การเช็คเกรด ตรวจสอบผลสอบ ตรวจกิจกรรมกพช ขอบคุณท่านผอ.มากที่ให้ได้โปรดแกรมนี้ที่เป็นประโยชน์ต่อครูและผู้เรียนอย่างมาก ขอบคุณมากคะ
ประสบการณ์ที่ได้จาการเรียนรู้ในหลักสูตรตามโครงการ นำความรู้ที่ได้จากการเรียนไปจัดการเรียนการสอน โดยจัดทำแผนการสอนและใช้สื่ออินเตอร์เน็ต สื่อเอกสาร จากมุมอาเซียนที่กศน.ตำบลจัดให้ และจัดกิจกรรมต่างๆที่เกี่ยวข้อง มีความรู้เกี่ยวกับประเทศต่างๆในอาเซียนมากขึ้น ประวัติความเป็นมา ภาษาวัฒนธรรม ธงชาติ อาหาร และการแต่งกาย
ประโยชน์ต่อผู้เรียน ผู้รับบริการ กลุ่มเป้าหมายผู้รับผิดชอบ
ต่อผู้เรียน
นำความรูจากการเรียนไปใช้ในชีวิตประจำวัน ผู้เรียนมีความรู้เพิ่มขึ้น โดยนำความรู้จากการไปทำงานต่างประเทศมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างครูและผู้เรียนด้วยกัน นำความรู้ไปสอนต่อให้ลูก
ต่อสถานศึกษา
เป็นจุดประชาสัมพันธ์ถ่ายทอดความรู้และกิจกรรมเกี่ยวกับอาเซียนทั้งระดับตำบล อำเภอและจังหวัด(ในกศน.ตำบลพ และห้องสมุดประชาชน
ในภาพรวมคิดว่าได้รับประโยชน์ ค่อนข้างมาก ได้เทคนิคการจัดการเรียนการสอน ได้ความรู้เพิ่มเติมในด้านเนื้อหา การจัดทำใบงาน ใบความรู้ให้ผู้เรียน ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ได้สื่อเอกสาร และสื่อวีซีดี เพื่อใช้ในการจัดการเรียนการสอน
หัวข้อที่ต้องการให้สำนักงานกศน.ดำเนินการได้แก่ เทคนิคการสร้างสื่อ เช่นสื่อ มัลติมิเดีย เทคนิคการออกแบบสื่อประชาสัมพันธ์ รูปแบบต่างๆ การพัฒนาหลักสูตร รายวิชาเลือก
บ่ายเข้ากศน.เมืองลำปาง ทำรายงานสำรวจบ้านหนังสือส่งงานภาคี และคีย์ข้อมูลรายบุคคล และได้เรียนรู้การเช็คเกรด ตรวจสอบผลสอบ ตรวจกิจกรรมกพช ขอบคุณท่านผอ.มากที่ให้ได้โปรดแกรมนี้ที่เป็นประโยชน์ต่อครูและผู้เรียนอย่างมาก ขอบคุณมากคะ
วันอังคารที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2558
บันทึกประจำวันครูกศน.ตำบลพิชัย
เข้ากศน.อำเภอเมืองค้นหาเลขบัตรนักศึกษาที่ขาดเพื่อคีย์ข้อมูลรายบุคคล และประสานงานครูประจำกลุ่มค่ายสุรศักดิ์มนตรี กลุ่ม มทบ32 ร17 พัน2 และ ชร้อย4 เรื่องการสอบปลายภาคเรียนที่ 1/2558 ตอนนี้ได้ข้อสรุปว่าจะใช้สนามสอบที่ ศูนย์ฝึกของมบท 32 ในวันที่ 16 กันยายน 58 และคีย์ข้อมูลรายบุคคคลนักศึกษาภาคเรียนที่ 2/2557
วันจันทร์ที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2558
บันทึกประจำวันครูกศน.ตำบล
วันนี้เข้ากศน.อำภเมืองลำปาง ร่วมประชุมพร้อมคณข้าราชการ ครูทุกประเภท โดยอาจารย์ยุรัยยา อินทรวิจิตร หัวหน้ากลุ่มงานจัดฯได้กล่าวขอบคุณครูที่ร่วมกันจัดเตรียมงานต้อนรับสถานศึกษาพอเพียง
- การจัดงานวันที่ 8-9 กันยายน 58 วันระลึกสากลแห่งการรู้หนังสือ ณ เซ็นทรัล กศน.อำเภอเมืองได้รับมอบหมายให้จัดนิทรรศการงานการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีงาน สายสามัญ ปวช คนพิการ ผู้ไม่รู้หนังสือ โดยให้แบ่งกลุ่มจัดนิทรรศการ
-งานพื้นฐาน อาจารย์ยุรัยยา ทรรศพล ปิ่นนภา สุรศักดิ์ ทรนง สกุลตรา วราจันทร์ รพีพรรณ
-งานปวชย อาจารย์นาตยา เอกอนันต์ ทิพย์สุดา สายพิน
-งานคนพิการ อาจารย์สุพรรณี สุมลมาลย์ มานพ พรประภา ฉัตรชัย ยุวรี
-งานผู้ไม่รู้หนังสือ อาจารย์ยุรัยยา ยุพิน อุบลวรรณ โยษิตา ทิพย์วรรณ์
-งานกศน.ในวัด อาจารย์จิตราภรณ์ สุรศักดิ์ นุชจรินทร์ สุกัญญา ปภสรรค เยารีย์ รุ้งดาว
-งานการแสดง อาจารย์พิรุณ สมพงษ์ หนึ่งฤทัย ชนกกร วสุ
-การแสดงให้มีการแสดง 1 ชุดของตำบลกล้วยแพะ แข่งขัน 1 ชุด
-วันที่ 8 ก.ย. ใส่เสื้อสีกรมท่า วันที่ 9 ก.ย. ใส่เสื้อสีม่วง (ตัวหนังสือเล็กที่บ่า)
-การคัดเลือกครูดีเด่น ส่ง อาจารย์วราจันทร์ กศน.ดีเดิ่น อาจารย์ปิ่นนภา
-วันนี้ขอให้ช่วยเก็บของที่จัดงานต้อนรับคณะกรรมการสถานศึกษาพอเพียง
- ต้นธงชัยงบประมาณ 59 อยากเรียนทอผ้า ปงแสนทองอยากเรีย เบเกอรรี่ ทองม้วน ให้ครูในตำบลไปประชาคมกลุ่มด้วย
- sar การประกันคุณภาพ ติดตามงาน ตัวบ่งชี้ที่ 1-2 และตัวอื่นๆ ให้เสร็จอย่างน้อยวันที่ 31 สิงหาคม 58
- ให้เขียนแผนกาสอนการไปใช้แหล่งเรียนรู้ด้วย การเขียนบล็อก ให้เขียนเป็นปัจจุบัน การประเมินสถานศึกษาพอเพียงสิ่งที่ขาดคือ ขาดใบความรู้ แหล่งเรียนรู้
อาจารย์พิรุณ การบันทึกหลังสอนให้บันทึกกิจกรรม To be ฯ เข้าไปด้วย ให้รายงานกพชด้วยก่อนสอบ อาชีพใครที่ไม่รายงานให้รายงาน ทักษะชีวิตด้วย
อาจาย์จิตราภรณ์ ขอบคุณครูที่ช่วยจัดห้องสมุด ให้เก็บข้อมูลงานอัธยาศัยด้วย
จากนั้นแยกย้ายกันประชุมกลุ่มย่อย กลุ่มของข้าพเจ้าได้ประชุมร่วมกันโดยการนำของอาจารย์นาตยา ได้มีความเห็นการนำเสนองานปวชในด้าน การจัดการเรียนการสอน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กำลังอยู่ในขั้นตอนการหาภาพเพื่อให้ร้านทำสกรีนแปดช่อง หลังประชุมกลุ่มย่อย
ช่วยงานอาคารสถานที่จัดเก็บอุปกรณ์การตกแต่งวันประเมินสถานศึกษาเพียง
ทำข้อสอบวิชาสมุนไรใกล้ตัวแล้วทางไดร้ฟให้กลุ่มงาน
คีย์ข้อมูลรายบุคคลผู้เรียน
- การจัดงานวันที่ 8-9 กันยายน 58 วันระลึกสากลแห่งการรู้หนังสือ ณ เซ็นทรัล กศน.อำเภอเมืองได้รับมอบหมายให้จัดนิทรรศการงานการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีงาน สายสามัญ ปวช คนพิการ ผู้ไม่รู้หนังสือ โดยให้แบ่งกลุ่มจัดนิทรรศการ
-งานพื้นฐาน อาจารย์ยุรัยยา ทรรศพล ปิ่นนภา สุรศักดิ์ ทรนง สกุลตรา วราจันทร์ รพีพรรณ
-งานปวชย อาจารย์นาตยา เอกอนันต์ ทิพย์สุดา สายพิน
-งานคนพิการ อาจารย์สุพรรณี สุมลมาลย์ มานพ พรประภา ฉัตรชัย ยุวรี
-งานผู้ไม่รู้หนังสือ อาจารย์ยุรัยยา ยุพิน อุบลวรรณ โยษิตา ทิพย์วรรณ์
-งานกศน.ในวัด อาจารย์จิตราภรณ์ สุรศักดิ์ นุชจรินทร์ สุกัญญา ปภสรรค เยารีย์ รุ้งดาว
-งานการแสดง อาจารย์พิรุณ สมพงษ์ หนึ่งฤทัย ชนกกร วสุ
-การแสดงให้มีการแสดง 1 ชุดของตำบลกล้วยแพะ แข่งขัน 1 ชุด
-วันที่ 8 ก.ย. ใส่เสื้อสีกรมท่า วันที่ 9 ก.ย. ใส่เสื้อสีม่วง (ตัวหนังสือเล็กที่บ่า)
-การคัดเลือกครูดีเด่น ส่ง อาจารย์วราจันทร์ กศน.ดีเดิ่น อาจารย์ปิ่นนภา
-วันนี้ขอให้ช่วยเก็บของที่จัดงานต้อนรับคณะกรรมการสถานศึกษาพอเพียง
- ต้นธงชัยงบประมาณ 59 อยากเรียนทอผ้า ปงแสนทองอยากเรีย เบเกอรรี่ ทองม้วน ให้ครูในตำบลไปประชาคมกลุ่มด้วย
- sar การประกันคุณภาพ ติดตามงาน ตัวบ่งชี้ที่ 1-2 และตัวอื่นๆ ให้เสร็จอย่างน้อยวันที่ 31 สิงหาคม 58
- ให้เขียนแผนกาสอนการไปใช้แหล่งเรียนรู้ด้วย การเขียนบล็อก ให้เขียนเป็นปัจจุบัน การประเมินสถานศึกษาพอเพียงสิ่งที่ขาดคือ ขาดใบความรู้ แหล่งเรียนรู้
อาจารย์พิรุณ การบันทึกหลังสอนให้บันทึกกิจกรรม To be ฯ เข้าไปด้วย ให้รายงานกพชด้วยก่อนสอบ อาชีพใครที่ไม่รายงานให้รายงาน ทักษะชีวิตด้วย
อาจาย์จิตราภรณ์ ขอบคุณครูที่ช่วยจัดห้องสมุด ให้เก็บข้อมูลงานอัธยาศัยด้วย
จากนั้นแยกย้ายกันประชุมกลุ่มย่อย กลุ่มของข้าพเจ้าได้ประชุมร่วมกันโดยการนำของอาจารย์นาตยา ได้มีความเห็นการนำเสนองานปวชในด้าน การจัดการเรียนการสอน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กำลังอยู่ในขั้นตอนการหาภาพเพื่อให้ร้านทำสกรีนแปดช่อง หลังประชุมกลุ่มย่อย
ช่วยงานอาคารสถานที่จัดเก็บอุปกรณ์การตกแต่งวันประเมินสถานศึกษาเพียง
ทำข้อสอบวิชาสมุนไรใกล้ตัวแล้วทางไดร้ฟให้กลุ่มงาน
วันอาทิตย์ที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2558
บันทึกหลังสอนครั้งที่ 16
วันที่ 23 สิงหาคม 2558
1. พบกลุ่มนักศึกษา
ระดับประถมศึกษา จำนวน 1 คน ผู้ขาดการพบกลุ่ม - คน
ระดับ ม.ต้น จำนวน 19 คน ผู้ขาดการพบกลุ่ม 7 คน
ระดับ ม.ปลาย จำนวน 41 คน ผู้ขาดการพบกลุ่ม 20 คน
2. ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ระดับประถมศึกษา วิชาที่สอน วิชา พัฒนาอาชีพให้มีอยู่มีกิน เรื่อง โครงการพัฒนาอาชีพให้มีอยู่มีกิน และวิชาภาษาอังกฤษฟังพูดเบื้องต้น
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ครูสนทนาในเนื้อหาที่เรียนร่วมกับผู้เรียน
เทคนิคการสอน ครูอธิบายเนื้อหา มอบหมายใบงานให้ผู้เรียนศึกษาและทำใบงาน
สื่อประกอบการเรียนรู้ แบบเรียน ใบความรู้
วิธีการประเมินผล ใบงาน จำนวน 4 ข้อ
ผลการเรียนรู้ของผู้เรียน ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาที่สอนจากการสังเกตและทำแบบทดสอบ
มอบกรต. ทบทวนบทเรียน
ระดับ ม.ต้น วิชาที่สอน วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องดาราศาสตร์เพื่อดวงดาวกับชีวิต การพัฒนาตนเองชุมชนสังคม เรื่อง พัฒนาสังคม ชุมชน
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ครูสนทนาในเนื้อหาที่เรียนแต่ละวิชาร่วมกับผู้เรียน และสรุปร่วมกัน
เทคนิคการสอน กระบวนการ ONIE กระบวนการกลุ่มศึกษา และทำรายบุคคล ในเนื้อหาแต่ละวิชาที่มอบหมายในแต่ละวิชา รวมกลุ่มระดมความคิด นำเสนอ ครูสรุปเนื้อหาในแต่ละวิชา และให้ผู้เรียนทำใบงาน
สื่อประกอบการเรียน แบบเรียน ใบความรู้ อินเตอร์เน็ต สมาทร์โฟน
วิธีการวัดประเมินผล การมีส่วนร่วม การตอบคำถาม การสังเกต แบบทดสอบ
ผลการเรียนรู้ของผู้เรียน ผู้เรียนมีความรู้และเข้าในในเนื้อหาที่สอนจากการทำแบบทดสอบ การซักถามและการสังเกต
กรต. วิทยาศาสตร์ ทบทวนบทเรียน การพัฒนาตนเองชุมชนสังคม ทบทวนบทเรียน และมอบหมายงานในวิชาเลือก
ม.ปลาย วิชาที่สอน ทบทวนวิชาเรียน เนื้องจากเรียนครบหมวดวิชาแล้ว
สอบระหว่างภาคนักศึกษาทุกระดับในวิชาที่เรียนยังไม่ครบวิชา ต้องทดสอบต่อในอาทิตย์ และนี้มีการนำเสนอโครงงานของระดับ ม.ต้น บางกลุ่มต้องนำไปแก้ไขเนื่องจากยังไม่สมบูรณ์
3. ปัญหาการจัดการเรียนการสอน
ผู้เรียนจำรหัสวิชาเรียนไม่ได้ เนื่องจากมีหลายวิชา
วิธีแก้ไข แนะนำเป็นรายบุคคลบอกรหัสให้ใหม่และให้จดบันทึกเป็นของตนเอง
1. พบกลุ่มนักศึกษา
ระดับประถมศึกษา จำนวน 1 คน ผู้ขาดการพบกลุ่ม - คน
ระดับ ม.ต้น จำนวน 19 คน ผู้ขาดการพบกลุ่ม 7 คน
ระดับ ม.ปลาย จำนวน 41 คน ผู้ขาดการพบกลุ่ม 20 คน
2. ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ระดับประถมศึกษา วิชาที่สอน วิชา พัฒนาอาชีพให้มีอยู่มีกิน เรื่อง โครงการพัฒนาอาชีพให้มีอยู่มีกิน และวิชาภาษาอังกฤษฟังพูดเบื้องต้น
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ครูสนทนาในเนื้อหาที่เรียนร่วมกับผู้เรียน
เทคนิคการสอน ครูอธิบายเนื้อหา มอบหมายใบงานให้ผู้เรียนศึกษาและทำใบงาน
สื่อประกอบการเรียนรู้ แบบเรียน ใบความรู้
วิธีการประเมินผล ใบงาน จำนวน 4 ข้อ
ผลการเรียนรู้ของผู้เรียน ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาที่สอนจากการสังเกตและทำแบบทดสอบ
มอบกรต. ทบทวนบทเรียน
ระดับ ม.ต้น วิชาที่สอน วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องดาราศาสตร์เพื่อดวงดาวกับชีวิต การพัฒนาตนเองชุมชนสังคม เรื่อง พัฒนาสังคม ชุมชน
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ครูสนทนาในเนื้อหาที่เรียนแต่ละวิชาร่วมกับผู้เรียน และสรุปร่วมกัน
สื่อประกอบการเรียน แบบเรียน ใบความรู้ อินเตอร์เน็ต สมาทร์โฟน
วิธีการวัดประเมินผล การมีส่วนร่วม การตอบคำถาม การสังเกต แบบทดสอบ
ผลการเรียนรู้ของผู้เรียน ผู้เรียนมีความรู้และเข้าในในเนื้อหาที่สอนจากการทำแบบทดสอบ การซักถามและการสังเกต
กรต. วิทยาศาสตร์ ทบทวนบทเรียน การพัฒนาตนเองชุมชนสังคม ทบทวนบทเรียน และมอบหมายงานในวิชาเลือก
ม.ปลาย วิชาที่สอน ทบทวนวิชาเรียน เนื้องจากเรียนครบหมวดวิชาแล้ว
สอบระหว่างภาคนักศึกษาทุกระดับในวิชาที่เรียนยังไม่ครบวิชา ต้องทดสอบต่อในอาทิตย์ และนี้มีการนำเสนอโครงงานของระดับ ม.ต้น บางกลุ่มต้องนำไปแก้ไขเนื่องจากยังไม่สมบูรณ์
3. ปัญหาการจัดการเรียนการสอน
ผู้เรียนจำรหัสวิชาเรียนไม่ได้ เนื่องจากมีหลายวิชา
วิธีแก้ไข แนะนำเป็นรายบุคคลบอกรหัสให้ใหม่และให้จดบันทึกเป็นของตนเอง
บันทึกประจำวันครูกศน.ตำบลพิชัย
เข้ากศน.ตำบลพิชัย จัดการเรียนการสอนระดับปะถม ม.ต้น ม.ปลาย ตามปฏิทินการเรียนรู้ และสอบระหว่างวิชาสุขศึกษา ศิลป พัฒนาอาชีพให้มีความมั่นคง อังกฤษฟังพูด อังกฤเพื่อการท่องเที่ยว โครงงาน อาเซียน การ การพัฒนาแผนและโครงการอาชีพ วิทยาศาสตร์ และแจ้งให้นักศึกษาส่งรายชื่อร่วมกิจกรรมเต้น cover เพื่อประกวดในวันจันทร์
แผนปฏิบัติงานประจำสัปดาห์ครูกศน.ตำบลพิชัย
แผนปฏิบัติงานครูกศน.พิชัย
ประจำวันที่ วันที่
24 -31 สิงหาคม 2558
วัน เดือน
ปี
|
รายงาน
|
พื้นที่ปฏิบัติงาน
|
หมายเหตุ
|
24 สิงหาคม 58
|
- เข้ากศน.เมืองลำปาง
ร่วมประชุมเพื่อรับทราบและแบ่งหน้าที่การจัดบูรของกศน.ฯ
- เขียนบันทึกประจำวัน
|
กศน.อำเภอเมืองลำปาง
|
|
25 สิงหาคม 58
|
- เข้ากศน.ตำบลพิชัย
- คีย์ข้อมูลรหัส นักศึกษา วันเดือนปีเกิด ในโปรแกรม
- เขียนบันทึกประจำวันวัน
|
กศน.ตำบลพิชัย
|
|
26 สิงหาคม 58
|
- เข้ากศน.ตำบลพิชัย
- คีย์ข้อมูลด้านสุขภาพของผู้เรียน
- เขียนบันทึกประจำวันวัน
|
กศน.ตำบลพิชัย
|
|
27 สิงหาคม 58
|
- เข้ากศน.ตำบลพิชัย
- คีย์ข้อมูลติดตามความก้าวหน้าการเตรียมความพร้อมการประเมินสถานศึกษามาตรฐานที่1
- เขียนบันทึกประจำวันวัน
|
กศน.เมืองลำปาง
|
|
28 สิงหาคม 58
|
- เข้ากศน.ตำบลพิชัย
คีย์ข้อมูลติดตามความก้าวหน้าการเตรียมความพร้อมการประเมินสถานศึกษามาตรฐานที่2
- เขียนบันทึกประจำวันวัน
|
กศน.เมืองลำปาง
|
|
29 สิงหาม 58
|
-วันหยุด
|
|
|
30 สิงหาคม 58
|
- จัดการเรียนการสอนระดับประถม ม.ต้น ม.ปลาย
|
กศน.ตำบลพิชัย
|
|
31 สิงหาคม 58
|
เข้ากศน.ตำบลพิชัย
- ทำรายงานกิจกรรมสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ การฝึทักษะอาชีพช่างเชื่อม
- เขียนบันทึกประจำวันวัน
|
กศน.ตำบลพิชัย
|
|
วันเสาร์ที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2558
บันทึกประจำันครูกศน.ตำบลพิชัย
วันหยุด ออกข้อสอบวิชาสมุนไพรใกล้ตัว และทำทดสอบระหว่างภาควิชาการพัฒนาแผนและโครงการอาชีพ และภาษาอังกฤษฟังพูด
วันศุกร์ที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2558
บันทึกประจำวันครูกศน.ตำบลพิชัย
วันที่ 21 สิงหาคม 2558
เข้ากศน.อำเภอเมืองลำปาง ร่วมจัดสถานที่บริเวณภายนอกและภายในอาคาร ตั้งสกรีนแปดช่อง และไวนิลงานต่างร่วมกับครูอาสาสมัคร ครูสอนคนพิการ และจัดร้านกศน.พิชัยเพื่อรอต้อนรับคณะกรรมการสถานศึกาษาพอเพียง พอคณะกรรมการมาถึงก็ร่วมต้อนรับและแนะนำอาชีพในตำบลพิชัแก่คระกรรมการ และร่วมตอนปัญหาด้านที่ 4 พร้อมครูกศน.ตำบล ครูศรช.ครูทุกประเภท และร่วมเก็บสถานที่การจัดกิจกรรมต้อนรับคณะกรรมการสถานศึกษา
เข้ากศน.อำเภอเมืองลำปาง ร่วมจัดสถานที่บริเวณภายนอกและภายในอาคาร ตั้งสกรีนแปดช่อง และไวนิลงานต่างร่วมกับครูอาสาสมัคร ครูสอนคนพิการ และจัดร้านกศน.พิชัยเพื่อรอต้อนรับคณะกรรมการสถานศึกาษาพอเพียง พอคณะกรรมการมาถึงก็ร่วมต้อนรับและแนะนำอาชีพในตำบลพิชัแก่คระกรรมการ และร่วมตอนปัญหาด้านที่ 4 พร้อมครูกศน.ตำบล ครูศรช.ครูทุกประเภท และร่วมเก็บสถานที่การจัดกิจกรรมต้อนรับคณะกรรมการสถานศึกษา
วันพฤหัสบดีที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2558
บันทึกประจำวันครูกศน.ตำบลพิชัย
เข้ากศน.อำเภอเมืองลำปาง ส่งไฟล์งานเอกสารรูปภาพให้กลุ่มงาน และแก้ไขไฟล์รูปภาพส่งกลุ่มงานช่วยจัดเตรียมสถานที่ และตกแต่งอาคารสถานที่ พร้อมครูกศน.ตำบลครูอาสาสมัคร ติดตามหลักฐานการเบิกเงินครูประจำกลุ่มและทำเรื่องเบิกเงินครูประจำกลุ่ม มทบ 32 ร 17 พัน 2
วันพุธที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2558
บันทึกประจำวันครูกศน.ตำบลพิชัย
เข้ากศน.อำเภอเมืองลำปาง ค้นไส้แฟ้มใส่เอกสาร ด้านที่ 4 และ 5 พิมพ์ด้านที่ 4 ถ่ายเอกสารแนบตัวบ่งชี้ในด้านที่รับผิดชอบ ส่งไฟล์รูปภาพให้ร้านไวนิลงานเศรษฐกิจของ 19 ตำบลให้ร้านเพื่อทำโฟมบอร์ด ปัญหาการส่งคือไฟล์ใหญ่เกินไป แก้ปัญหาโดยให้อาจารย์ปภพสรรค์นำข้อมูลไปส่งให้ร้าน ถ่ายเอกสารเบิกเงินทหารกลุ่ม มทบ และจัดทำไฟล์ไวนิลให้ร้านเพิ่มเติมจากอันเดิม และนัดหมายส่งพรุ่งนี้ตอนเช้าโดยทำเป็นไฟล์word และJPG
วันอังคารที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2558
บันทึกประจำวันครูกศน.ตำบลพิชัย
เข้ากศน.อำเภอเมืองลำปาง ผอ.กศน.อำเภอเมืองลำปาง ได้มอบหมายให้ครูทำงานต่อในช่วงเช้า ให้ทำความเข้าใจและสรุปใน 3 ห่วง 2 เงื่อนไขในแต่ละคนอย่างไร ความพอประมาณ ความเหตุผล ความรู้มีคุณธรรม ได้ทำกิจกรรมได้อะไร ให้มีรูปประกอบด้วย สิ่งที่ต้องการถาม จัดกระบวนการเรียนรู้อย่างไร ผู้เรียนเอาไปใช้อย่างไร กลุ่มอาชีพเรียนได้อะไร ไปใช้อะไร การทำบัญชีให้คัดครู 5 คน ผู้เรียน 5 คน เป็นตัวอย่าง โครงงานให้เอานักศึกษามาด้วยและโยงเข้าสู่ 3 ห่วง 2 เงื่อนไข ด้วย ให้ติดป้ายวิสัยทัศน์ ซุ้มศาลา และหน้าห้องประชุม ติดอัตลักษณ์ เอกลักษณ์ พันธกิจ บ่ายได้เชิญกศน.ห้างฉัตรมาดูเอกสารให้ เพื่อให้ดูสิ่งที่ขาดและไม่เข้าใจให้เข้าช่วยดู หรือเติมเต็มอะไรอีก จากนั้นข้าพเจ้าก็ได้มาถ่ายเอกสารแนบเบิกเงินครูมทบ แนบเบิกเงิน
บ่าย รับคำแนะนำจากอาจารย์เกวริน อุตตมะครูอาสาสมัครฯ อาจารย์สร้อยสุวรรณ เตชะธิ เกี่ยวกับเอกสารหลักฐานการรับการประเมินสถานศึกษาพอเพียง ด้านที่ 1-5 ในด้านที่ 4 ยังให้คำแนะนำเรื่องของการนำเสนอรูปภาพประกอบ และการทำแฟ้มให้คณะกรรมการที่แนบหลักฐานให้ครบเพื่อความสะดวกในการตรวจของคณะกรรมการ จากนั้นถ่ายเอกสารหลักฐานใส่แฟ้มให้คณะกรรมการในด้านที่4 องค์ประกอบที่1 ตามที่ได้รับมอบหมาย
บ่าย รับคำแนะนำจากอาจารย์เกวริน อุตตมะครูอาสาสมัครฯ อาจารย์สร้อยสุวรรณ เตชะธิ เกี่ยวกับเอกสารหลักฐานการรับการประเมินสถานศึกษาพอเพียง ด้านที่ 1-5 ในด้านที่ 4 ยังให้คำแนะนำเรื่องของการนำเสนอรูปภาพประกอบ และการทำแฟ้มให้คณะกรรมการที่แนบหลักฐานให้ครบเพื่อความสะดวกในการตรวจของคณะกรรมการ จากนั้นถ่ายเอกสารหลักฐานใส่แฟ้มให้คณะกรรมการในด้านที่4 องค์ประกอบที่1 ตามที่ได้รับมอบหมาย
บันทึกประจำวันครูกศน.ตำบลพิชัย
วันที่ 17 สิงหาคม 2558
เข้ากศน.อำเภอเมืองลำปาง ร่วมประชุมเตรียมความพร้อมของการรับการประเมินสถานศึกษาพอเพียงในแต่ละด้าน พร้อมคณะข้าราชการ ครูทุกประเภท โดยผอ.ณราวัลย์ นันต๊ะภูมิ กล่าวเปิดประเด็น ในแต่ละตัวบ่งชี้ได้ทำอะไรไปบ้างในช่วงระยะเวลา 3 ปีทีผ่านมา สามารถพูดคุยได้ตามองค์ประกอบตามเกณฑ์ ได้ดำเนินการอย่างไร ใช้เอกสารอะไรประกอบ จากการแต่งตั้งคณะทำงานต้องทบทวนว่่ามีความรู้ความเข้าใจมากน้อยแต่ไหน
องค์ประกอบที่ 1 ด้านการบริหารจัดการสถานศึกษา โดย อ.สุมลมาลย์ ก้าวกสิกรรม ท่านผอได้แนะนำให้ตรวจไขว้ตามเอกสาร และหาโครงการที่เกี่ยวข้องที่ชัดเจนมาประกอบอย่างเอากว้าง และให้แต่ละด้านตรวจซักตามองค์ประกอบแต่ละตัวบ่งชี้ ซึ่งข้าพเจ้าได้ตรวจด้านที่ 3 ด้านกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เอกสารบางส่วนต้องเขียนระบุให้ชัดเช่น รายงานกพชโครงการอะไร ร่วมกับสมาชิกในกลุ่ม
บ่ายนำเสนอ ด้านที่ 1 อาจารย์สุมลมาลย์ นำเสนอองค์ประกอบที่ 1 และ 2 ด้านการบริหารจัดการสถานศึกษา อาจารยยุรัยยา อินทรวิจิตร แนะนำ เรื่องปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจควรให้มีความสอดคล้องกับเศรษฐกิจพอเพีง รวมถึงการนิเทศ และนำเสนอด้านงบประมาณ ของครูกศน.ตำบลชมพู การนำเสนอของอาจารย์รุ้งดาว องค์ประกอบที่ 4 ด้านที่ 1 เรื่องอาคารสถานที่/แหล่งเรียนรู้ ด้านที่ 3 อาจารย์ระพีพรรณ ได้นำเสนอ ด้านที่ 2 ด้านหลักสูตรและการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ องค์ประกอบที่ 1-4
อาจารย์พิรุณ นำเสนอด้านที่ 3 ด้านการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน องค์ประกอบที่ 1-3
เข้ากศน.อำเภอเมืองลำปาง ร่วมประชุมเตรียมความพร้อมของการรับการประเมินสถานศึกษาพอเพียงในแต่ละด้าน พร้อมคณะข้าราชการ ครูทุกประเภท โดยผอ.ณราวัลย์ นันต๊ะภูมิ กล่าวเปิดประเด็น ในแต่ละตัวบ่งชี้ได้ทำอะไรไปบ้างในช่วงระยะเวลา 3 ปีทีผ่านมา สามารถพูดคุยได้ตามองค์ประกอบตามเกณฑ์ ได้ดำเนินการอย่างไร ใช้เอกสารอะไรประกอบ จากการแต่งตั้งคณะทำงานต้องทบทวนว่่ามีความรู้ความเข้าใจมากน้อยแต่ไหน
องค์ประกอบที่ 1 ด้านการบริหารจัดการสถานศึกษา โดย อ.สุมลมาลย์ ก้าวกสิกรรม ท่านผอได้แนะนำให้ตรวจไขว้ตามเอกสาร และหาโครงการที่เกี่ยวข้องที่ชัดเจนมาประกอบอย่างเอากว้าง และให้แต่ละด้านตรวจซักตามองค์ประกอบแต่ละตัวบ่งชี้ ซึ่งข้าพเจ้าได้ตรวจด้านที่ 3 ด้านกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เอกสารบางส่วนต้องเขียนระบุให้ชัดเช่น รายงานกพชโครงการอะไร ร่วมกับสมาชิกในกลุ่ม
บ่ายนำเสนอ ด้านที่ 1 อาจารย์สุมลมาลย์ นำเสนอองค์ประกอบที่ 1 และ 2 ด้านการบริหารจัดการสถานศึกษา อาจารยยุรัยยา อินทรวิจิตร แนะนำ เรื่องปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจควรให้มีความสอดคล้องกับเศรษฐกิจพอเพีง รวมถึงการนิเทศ และนำเสนอด้านงบประมาณ ของครูกศน.ตำบลชมพู การนำเสนอของอาจารย์รุ้งดาว องค์ประกอบที่ 4 ด้านที่ 1 เรื่องอาคารสถานที่/แหล่งเรียนรู้ ด้านที่ 3 อาจารย์ระพีพรรณ ได้นำเสนอ ด้านที่ 2 ด้านหลักสูตรและการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ องค์ประกอบที่ 1-4
อาจารย์พิรุณ นำเสนอด้านที่ 3 ด้านการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน องค์ประกอบที่ 1-3
วันอาทิตย์ที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2558
แผนงานประจำสัปดาห์
แผนปฏิบัติงานครูกศน.พิชัย
ประจำวันที่ วันที่
17 -23 สิงหาคม 2558
วัน เดือน
ปี
|
รายงาน
|
พื้นที่ปฏิบัติงาน
|
หมายเหตุ
|
17 สิงหาคม 58
|
- ประชุมชี้แจงการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
SAR ประจำปี 2558
- เขียนบันทึกประจำวันวัน
|
กศน.อำเภอเมืองลำปาง
|
|
18 สิงหาคม 58
|
- เข้ากศน.ตำบลพิชัย
- คีย์ข้อมูลรหัส นักศึกษา วันเดือนปีเกิด ในโปรแกรม
- เขียนบันทึกประจำวันวัน
|
กศน.ตำบลพิชัย
|
|
19 สิงหาคม 58
|
- เข้ากศน.ตำบลพิชัย
- คีย์ข้อมูลด้านสุขภาพของผู้เรียน
- เขียนบันทึกประจำวันวัน
|
กศน.ตำบลพิชัย
|
|
20 สิงหาคม 58
|
- เข้ากศน.เมืองลำปาง
ร่วมจัดสถานที่ต้อนรับคณะกรรมการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
- เขียนบันทึกประจำวันวัน
|
กศน.เมืองลำปาง
|
|
21 สิงหาคม 58
|
- เข้ากศน.เมืองลำปางต้อนรับคณะกรรมการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
- เขียนบันทึกประจำวันวัน
|
กศน.เมืองลำปาง
|
|
22 สิงหาม 58
|
-วันหยุด
|
|
|
23 สิงหาคม 58
|
- จัดการเรียนการสอนระดับประถม ม.ต้น ม.ปลาย
|
กศน.ตำบลพิชัย
|
|
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)