วันพุธที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2559

บันทึกประจำวันครูกศน.

เข้าพื้นที่บ้านต้นต้อง หมู่ 5 ร่วมจัดกิจกรรมขับเคลื่อนการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงภาคเกษตรและชนบท เวทีที่2 การปรับปรุงแผนขุมชน  ร่วมกับภาคีเครือข่ายพัฒนาชุมชนอำเภอ  และประชาสัมพันธ์ ศูนย์ ศส.ปชต.ตำบล


เข้ากศน.อำเภอเมืองลำปาง แก้ไขแผนรับรองและแผนยุทธศาสตร์ในระบบบริหารจัดการ พร้อมกับหัวหน้าแผนและครูกศน.ตำบล

วันอังคารที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2559

บันทึกประจำวันครูกศน.ตำบล

เข้าพื้นที่บ้านดอนมูล หมู่ 11 ร่วมจัดกิจกรรมขับเคลื่อนการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงภาคเกษตรและชนบท เวทีที่2 การปรับปรุงแผนขุมชน  ร่วมกับภาคีเครือข่ายพัฒนาชุมชนอำเภอ และนักวิเคราะห์อบต.พิชัย 

เข้ากศน.อำเภอเมืองลำปาง แก้ไขแผนรับรองและแผนยุทธศาสตร์ในระบบบริหารจัดการ และหาภาพกิจกรรมส่งฝ่ายแผน

บันทึกประจำวันครูกศน.

วันที่ 28 มีนาคม 2559
เข้ากศน.เมือง แก้ไขเอกสารงานรักการอ่าน อนุมัติหลักการซื้อวัสดุ  แก้ไขคำรับรองการปฏิบัติราชการ
แผนรับรองตามยุทธศาสตร์ ในระบบฐานข้อมูลเพื่อบริหารจัดการ

บันทึกประจำวันครูกศน.ตำบล

วันที่ 27 พฤษภาคม 2559
วันหยุด เข้ากศน.อำเภอเมืองลำปางเช็คผลสอบนักศึกษาระดับประถม ม.ต้น ม.ปลายต่อจากวันเมื่อวาน

วันจันทร์ที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2559

แผนปฏิบัติการประจำสัปดาห์ครูกศน.ตำบล

แผนปฏิบัติงานครูกศน.พิชัย
ประจำวันที่  วันที่  28-31  มีนาคม  2559 และวันที่ 1-3 เมษายน 2559
วัน เดือน ปี
รายงาน
พื้นที่ปฏิบัติงาน
หมายเหตุ
    28  มีนาคม 59
-     เข้ากศน.อำเภอเมืองลำปาง
-     ทำเรื่องเบิกเงิน และงานส่งขึ้นระบบ
-      เขียนบันทึกประจำวัน
กศน.อำเภอเมือง
ลำปาง

    29  มีนาคม 59
-     เข้าพื้นที่บ้านดอนมูล ร่วมจัดเวทีบ้านเศรษฐกิจพอเพียง พร้อมพัฒนาชุมชน และประชาชนสัมพันธ์การรับสมัครภาคเรียนที่ 2/2558
-     ทำรายงานกิจกรรมไตรมาส2 ขึ้นระบบ
-      เขียนบันทึกประจำวัน
บ้านดอนมูล

กศน.ตำบลพิชัย

   30  มีนาคม 59
- เข้ากศน.ตำบล
-     ทำรายงานกิจกรรมไตรมาส2 ขึ้นระบบ
-เขียนบันทึกประจำวัน
กศน.ตำบลพิชัย

  31  มีนาคม 59
- เข้ากศน.ตำบล
- จัดทำข้อสอบสอบซ่อมนักศึกษาระดับ ม.ต้น และม.ปลาย
- เตรียมวัสดุอุปกรณ์ การจัดกิจกรรมรักการอ่าน
- เขียนบันทึกประจำวัน
กศน.ตำบลพิชัย


  1 เมษายน 59
-   เข้าห้องสมุดประชาชนจังหวดลำปาง
-   จัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน
-   เขียนบันทึกประจำวัน
ห้องสมุดประชนจังหวัดลำปาง


  2  เมษายน 59
-   วันหยุด  


3         เมษายน 59
-   สอบซ่อมนักศึกษาภาคเรียนที่ 2/2558 และลงทะเบียนนักศึกษาเก่า ระดับ ประถม ม.ต้น ม.ปลาย
กศน.ตำบลพิชัย





วันเสาร์ที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2559

บันทึกประจำวันครูกศน.ตำบล

วันหยุด เข้ากศน.อำเภอเมืองลำปาง แก้ไขแผนปฏิบัติงานและแผนยุทธ์ต่อจากเมื่อวานให้กลุ่มงาน และเช็คคะแนนสอบนักศึกษาระดับประถม ม.ต้น ม.ปลาย ยังไม่เรียบร้อย

วันศุกร์ที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2559

บันทึกประจำวันครูกศน.

เข้ากศน.อำเภอเมืองลำปาง รวบรวมเอกสารการเบิกเงินงานเศรษฐกิจพอเพียง และรอใบหน้าจากงานสารบัญเพื่อส่งเบิก  จัดทำบันทึกข้อความและอนุมัติหลักการจัดซื้อวัสดุงานส่งเสริมการอ่านวันที่ 1 เมษายน 2559 ขึ้นระบบ และแก้ไขแผนรับรองในระบบ

วันพฤหัสบดีที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2559

บันทึกประจำวันครูกศน.

เข้ากศน.อำเภอเมืองลำปาง อบรมสารสนเทศ  โดยอ.กฤษณะ เจริญอรุณวัฒนา และอ.สุมลมาลย์ ก้าวกสิกรรม ครูอาสาสมัครฯ
รายงานผลการดำเนินงาน และไตรมาส
รายงานไตรมาส ให้รายงานไตรมาส 1 และ 3 งานพื้นฐาน งานอัธยาศัยกรอกทุกไตรมส   การคร่อมไตรมาส จะนับวันสุดท้ายของการจัดกิจกรรม  การทำฐานข้อมูลไม่คีย์ไตรมาสเนื่องจากนับเป็นแห่ง
ระบบของการทำหนังสือเวียน น่าจะพร้อมในอาทิตย์หน้า จากเดิมเซ็นด้านหลังเอกสาร ตอนนี้ให้ทำเป็นระบบรับทราบผ่านตัวโปรแกรม เช่น กศน.สบตุ๋ย จะมีเอกสารแถบสีแดงขึ้นก่อนเข้าสู่ระบบให้คลิกรับทราบ
การนำเสนอของ ตำบลนิคมพัฒนา   ผลของผู้เรียนเป็นอย่างไรในแต่ละคน ให้ออกมาเป็นรูปเล่มด้วย อันนี้ไม่ใช่สรุปผลการดำเนินงาน สรุปผลคือ ผู้เรียนได้เรียนอะไร(ดูตามแผน)  ผู้เรียนเป็นไงบ้าง มีความก้าวหน้ามากน้อยแต่น้อย  เพจ ทำอะไร ทำกี่เรื่อง มีผู้เข้าชมกี่คน  บล็อคได้ทำกี่บล็อค กี่เรื่องมีผู้เข้าชม กี่คน เกี่ยวกับเรื่องอะไร มีการพัฒนาปรับปรุงอย่างไร  ต้องมีการรายทุกกิจกรรมทุกๆกิจกรรม และสมบูรณ์แบบ ถ้ากิจกรรมทำไปแล้วต้องมีเป็นรูปเล่ม

การชมETV
แนวทางการจัดการศึกษาเรียนร่วม ทวิศึกษา
สุทธนี งามเขต
วัลภา อยู่ทอง
การอบรมครั้งนี้เป็นติใหม่ของกศน.โดยใช้สื่อของกศน.ที่มีอยู่แล้ว มีการทดสอบก่อนอบรม และหลังอบรม ครูและผู้บริหารสามารถดูเทปย้อนหลังและศึกษาจากเอกสารได้ พัฒนาดาวโหลดดอลคอม การใช้สื่อทางไกล ผลเป็นอย่างไร
หลักสูตรการจัดการศึกษาของกศน.และปวช ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของการออกแบบการจัดการเรียนการสอนเพื่อให้ได้สองวุฒิในสามปี  ต่อไปก็เป็นกระบวนการการศึกษา
ปัญหาของการเรียนร่วม  เวลาไม่ลงตัว เพราะเด็กต้องมีเวลาเรียน มีการฝึกงานทำให้การจัดการศึกษาต้องใช้เวลาเรียนมากขึ้น

การจัดแผนการเรียนนำไปสู่ผลการเทียบโอน อ.วัลภา อยู่ทอง การจัดแผนการเรียนรู้
      ปัญหาคือ  ใบรบในแต่ละภาคเรียนเกินกว่า 24 ชั่วโมงต่อวันที่ต้องเรียน ต้องให้อยู่บนพื้นฐานความเป็นจริง อาชีวคาบละ 60 นาที หน่วยกิจ 40 ชั่วโมงเท่ากับ 1 หน่วยกิต  มีทฤษฏีและปฏิบัติ การคิดค่าหน่วยกิจ 1 ชั่วโมงต่อ 1 หน่วยกิจ  ปฏิบัติกิจกรรม 2 สัปดาห์ 54 ชั่วโมงต่อ 1 หน่วยกิจ  ในหลักสูตรอาชีวจะกำหนดเป็นทำทฤษฏี
     กรอบโครงสร้างหลักสูตรปวช. 2556

 หมวดวิชาทักษะชีวิต ไม่น้อยกว่า22 หน่วยกิต โดยกศน.
1.หมวดวิชาทักษะวิชาชีพไม่น้อยกว่า 71หน่วยกิต โดย สอศ.
1.1กลุ่มทักษะวิชาชีพพื้นฐาน ไม่น้อยกว่า (18) โดย กศน.
1.2กลุ่มทักษะวิชาชีพเฉพาะ(24)
1.3กลุ่มทักษะวิชาชีพเลือก ไม่น้อยกว่า(21)
1.4ฝึกประสบการณ์ทักษะวิชาชีพ(4)
1.5โครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ(4)
2.หมวดวิชาเลือกเสรีไม่น้อยกว่า 10 หน่วยกิต  โดย กศน.
3.กิจกรรมเสริมหลักสูตร (2 ชม./สัปดาห์) หน่วยกิต  โดย กศน.
รวมระหว่าง103-120 หน่วยกิต

หมวดวิชาทักษะชีวิต ไม่น้อยกว่า 22 หน่วยกิต
ให้เรียนรายวิชาลำดับแรกของทุกกลุ่มวิชาหรือตามที่กลุ่มวิชากาหนดและเลือกเรียนรายวิชาส่วนที่เหลือตามที่กาหนดในแต่ละกลุ่มวิชาให้สอดคล้องหรือสัมพันธ์กับสาขาวิชาที่เรียนอีก รวมไม่น้อยกว่า 22 หน่วยกิต
เรียนหลักสูตร ม.ปลาย 2551สพฐ. (รายวิชาพื้นฐาน) 41 หน่วยกิต./ กศน. (รายวิชาบังคับ) 44นก. เทียบโอนฯ สู่ ปวช.2556

2 กลุ่มวิชาภาษาไทยไม่น้อยกว่า 3 นก.
1.2กลุ่มวิชาภาษาต่างประเทศไม่น้อยกว่า6นก.
1.3กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ไม่น้อยกว่า4นก.
1.4กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ไม่น้อยกว่า4นก
1.5กลุ่มวิชาสังคมศึกษาไม่น้อยกว่า3นก.
1.6กลุ่มวิชาสุขศึกษาและพลศึกษาไม่น้อยกว่า2นก. สามารถพัฒนาเพิ่มเติมในลักษณะจาแนกเป็นรายวิชาหรือบูรณาการ

2. หมวดวิชาทักษะวิชาชีพ ไม่น้อยกว่า 71 นก.
2.1กลุ่มทักษะวิชาชีพพื้นฐาน 18นก.
2.2กลุ่มทักษะวิชาชีพเฉพาะ24นก.
2.3กลุ่มทักษะวิชาชีพเลือกไม่น้อยกว่า
21นก.2.4ฝึกประสบการณ์ทักษะวิชาชีพ4นก
.2.5โครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ4นก.
สอนโดย สถานศึกษาอาชีวศึกษา  เทียบฯ สู่หลักสูตร สพฐ. (วิชาเพิ่มเติม) 40 นก.
หลักสูตร กศน. (วิชาเลือก)32นก.

การสาเร็จการศึกษา
•ประเมินผ่านรายวิชาในหมวดวิชาทักษะชีวิต หมวดวิชาชีพ และหมวดวิชาเลือกเสรี ตามที่กาหนดไว้ในหลักสูตรแต่ละประเภทวิชาและสาขาวิชา
•ได้จานวนหน่วยกิตสะสมครบตามโครงสร้างของหลักสูตรแต่ละประเภทวิชาและสาขาวิชา•ได้ค่าระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ากว่า2.00และผ่านการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ•เข้าร่วมกิจกรรมและประเมินผ่านทุกภาคเรียน

การประกันคุณภาพหลักสูตร
•ให้สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา สถาบันการอาชีวศึกษาและสถานศึกษาจัดให้มีการประเมินเพื่อพัฒนาหลักสูตรที่อยู่ในความรับผิดชอบอย่างต่อเนื่อง อย่างน้อยทุก 5ปี
1)คุณภาพของผู้สาเร็จการศึกษา
2)การบริหารหลักสูตร
3)ทรัพยากรการเรียนการสอน
4)ความต้องการของตลาดแรงงาน

รงสร้างหลักสูตรกาหนด
•จัดรายวิชาในแต่ละหมวดวิชาให้ครบตามโครงสร้าง
•จัดวิชาในหมวดวิชาทักษะชีวิตกระจายทุกภาคเรียน
•จัดวิชาชีพพื้นฐานในภาคเรียน 1-2ยกเว้นรายวิชาส่งเสริม/สนับสนุนงานอาชีพ
•จัดวิชาชีพสาขาวิชา/วิชาชีพเฉพาะในภาคเรียน 2-3เพื่อเป็นพื้นฐานในการเรียนวิชาชีพสาขางาน/วิชาชีพเลือก

แนวทางการจัดแผนการเรียน
จัดรายวิชาตามลาดับง่าย-ยาก เป็นไปตามเงื่อนไขโครงสร้างหลักสูตรกาหนด
•จัดรายวิชาในแต่ละหมวดวิชาให้ครบตามโครงสร้าง
•จัดวิชาในหมวดวิชาทักษะชีวิตกระจายทุกภาคเรียน
•จัดวิชาชีพพื้นฐานในภาคเรียน 1-2ยกเว้นรายวิชาส่งเสริม/สนับสนุนงานอาชีพ
•จัดวิชาชีพสาขาวิชา/วิชาชีพเฉพาะในภาคเรียน 2-3เพื่อเป็นพื้นฐานในการเรียนวิชาชีพสาขางาน/วิชาชีพเลือก
 - จัดวิชาชีพสาขางาน/วิชาชีพเลือกในภาคเรียนที่ 2เป็นต้นไป
- จัดวิชาโครงการในภาคเรียน 5 หรือ 6
- จัดวิชาฝึกงานและรายวิชาชีพ ไปเรียนและฝึกในสถาน-ประกอบการภาคเรียนที่ 5-6
- จัดวิชาเลือกเสรีในภาคเรียนที่ 3 เป็นต้นไป
- จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร 2ชม./สัปดาห์ทุกภาคเรียน
- จัดวิชาในภาคฤดูร้อนให้พอดีกับเวลาเรียน (เทียบเคียงกันได้กับภาคเรียนปกติ ประมาณ 12นก.)
- ตรวจสอบความครบถ้วนถูกต้อง
    แผนการเรียนหลักสูตรปวช    
•เวลาเรียนไม่เกิน 35ชม.ต่อสัปดาห์ รวมกิจกรรมฯ 2ชม.ต่อสัปดาห์
•ภาคปกติไม่เกิน 22หน่วยกิตต่อภาคเรียน
•ภาคปกติไม่เต็มเวลา/ภาคฤดูร้อนไม่เกิน 12 หน่วยกิต ต่อภาคเรียน
•อัตราส่วนการเรียนรู้หมวดทักษะวิชาชีพ ท.:ป. ประมาณ 20:80
รหัสวิชา  กำหนดตามรหัสหลักสูตร  ชื่อวิชา มีรายวิชาที่ต้องเรียนก่อนหรือไม่

XXXX-XXXX  1234-5678   1ระดับหลักสูตร(2=ปวช.)2ประเภทวิชา/วิชาเรียนร่วม3-4สาขาวิชา/วิชาเรียนร่วม5-6สาขางาน/กลุ่มวิชา7-8ลาดับที่วิชา
       การจัดการศึกษาและการประเมินผลการเรียนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556
     การสาเร็จการศึกษาตามหลักสูตร
ได้รายวิชาและจานวนหน่วยกิตสะสมในหมวดวิชาทักษะชีวิต หมวดวิชาทักษะวิชาชีพ และหมวดวิชาเลือกเสรี ครบถ้วนตามที่กาหนดไว้ในหลักสูตรแต่ละประเภทวิชาและสาขาวิชา และตามแผนการเรียนที่สถานศึกษากาหนด
2.ได้ค่าระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ากว่า 2.00
3.ผ่านเกณฑ์การประเมินมาตรฐานวิชาชีพ
4.ได้เข้าร่วมปฏิบัติกิจกรรมเสริมหลักสูตรและ “ผ่าน” ทุกภาคเรียน ตามแผนการเรียนที่สถานศึกษากาหนด
   การประเมินสาขาวิชาชีพ จะผ่านหรือไม่ผ่านไม่เป็นไร ขอให้เข้าสอบ
  แผนการจัดการเรียนรู้เป็นหน้าที่ของครู ตอนนี้กศน.ได้ทำรหัสไว้แล้ว ไม่ต้องคิดใหม่ ใช้เลข 8หลักคั่นด้วย 4 ตัวหลัก
    ระเบียบ กระทรวงศึกษาธิการ มีชื่อหมวดเปลี่ยนแปลงไปบ้าง  การประเมินผล คำที่ใช้ในส่วนที่ 5 ส่วนที่ 2 การประเมินเมือสิ้นสุดภาคเรียน
    การประเมินผลการเทียบโอนผลการเรียน  การจัดทวิศึกษา เอาโครงสร้างมาเทียบ วิชาส่วนกศน.วิชาบังคับ 44 หน่วยกิต  ทักษะชีวิต 22 หน่วยกิจ  อังกฤษ 6 หน่วตกิต  อาชีวจะสอนอังกฤษให้ในวิชาเลือก  แต่ตอนหลังกศน.เพิ่มการอ่านเขียนอังกฤษ ขึ้น 2 หน่วยกิต เพื่อให้ครบ 22 หน่วยกิต สำหรับวิชาเลือกให้เอาทักษะวิชาชีพเข้าไปโอนผลการเรียน  หลักสูตร กศน.เรียน 78 หน่วยกิต
    ในการเทียบโอนผลการเรียนจากเกรดมาเป็นเกรด ตอนนี้มีการวิเคราะห์ให้แล้ว ครูต้องพิจารณาว่าเด็กได้เกรดอะไร ต้องมีเนื้อหาตรงกันร้อยละ 60  จำนวนหน่วยกิตของกศน.และอาชีวจะไม่เหมือนกับกศน.
    ในกรณีที่ได้ต่ำกว่า 2 เทียบโอนได้แต่จะได้เกรดน้อย  ถึงว่าจะประเมินผลใหม่ผลก็จะไม่ต่ำกว่าเดิมต้องดูระเบียบด้วย ถ้าต่ำกว่าเท่าไรเป็น 0 จนถึงเกรด 4
    รูปแบบของการเทียบโอน
    การให้ค่าหน่วยกิตของกศน.และอาชีวะไม่เหมือนกัน
    ปัญหาส่วนใหญ่จะอยู่รายวิชาบางรายวิชา ต้องเรียนเพิ่ม ซึ่งยังเป็นขั้นต่ำของอาชีว คือ 103 อาชีวะ กศน. 117
     ข้อสรุป
     โครงสร้างหลักสูตร ผลการเรียนรายวิชา ต้องนำมาเทียบโอน ครูต้องศึกษาและมีความพร้อมในหลักสูตรอะไร มีสาขาอะไรที่เปิดอยู่แล้ว เมื่อจบแล้วจะไปทำงานอะไรได้บ้าง
     คำถาม
     สถานศึกษาสามารถจัดวิชาบังคับในปีแรก ได้หรือไม่  จะทำให้เงินงบประมาณมีปัญหา โดยหลักเรียนคู่กัน แบ่งกันในแต่ละภาคเรียน  2 หลักสูตรคู่กันไป สำหรับการเรียน เรียนกศน. 9 สัปดาห์ และอีกครึ่งเทอมไปเรียนปวช.ขึ้นอยู่กับสถานศึกษาได้ตกลงกัน
    อาชีวะ มีการเรียกเก็บการจัดการศึกษา  ปวช.เป็นการจัดการศึกษาภาคบังคับ ไม่เก็บค่าเล่าเรียน  ถ้าเป็นนอกเวลาและภาคฤดูร้อนต้องมีการเก็บ  การเก็บเงินภาคปฏิบัติขึ้นอยู่กับสาขาวิชา อาชีวะมีเงินอุดหนุน เช่น ค่าสื่อ ชุดปฏิบัติ
    ถ้าจบ ม3 ต้องเรียนแบบม.ปลายในระบบ  สำนักงานการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ) เรียนกศน. ก็มาสมัครที่ กศน.ประเทศ
     สัปดาห์หน้า ดูการทบทวนหลักสูตร กศน. 51 แนวทางการเรียนร่วมทวิศึกษา ขั้นตอนการปฏิบัติ



   ต่อจากนั้น ครูกศน.ตำบลนิคม  ทุ่งฝาย บ้านเป้า
     ผอ.อยากให้ทำบันทึก ขอรายงานผลการปฏิบัติงานเหมือนตัวขออนุญาต
     บ่าย  การนำเสนอของ ครูกศน.ตำบล บ่อแฮ้ว บ้านเอื้อม บ้านค่า  บุณนาคพัฒนา ห้องสมุดจังหวัด ลำปาง ต้นธงชัย เสด็จ ชมพู พิชัย บ้านแลง
     โครงการบรรณสัญจรให้ทำในเดือน พ.ค.59
     ให้ครูทำสรุปรอบ 6 เดือนให้เสร็จ และทำเบสแพกทิสของตำบล 1 อย่าง เลือกมาเล่า นอกนั้นตามรายงานกิจกรรม
      บันทึกหลังสอน และวิจัยชั้นเรียนบันทึกในระบบ bbl สเต็มศึกษา
     

   

วันพุธที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2559

บันทึกประจำวันครูกศน.

เข้าพื้นที่บ้านทรายใต้ หมู่ 8 จัดกิจกรรมการอบรมการเพาะเห็ดฟางแบบกองเตี้ยและการเพาะต้นอ่อนทานตะวัน มีผู้เข้าร่วมจำนวน 19 คน โดยมี นายบุญจู ใจมา และนางสาวจันทร์เพ็ญ ยศปินตา เป็นวิทยากรให้ความรู้

เข้ากศน.อำเภอเมืองลำปาง เรียงข้อสอบและคะแนนสอบนักศึกษาระดับประถม ม.ต้น ม.ปลาย

วันอังคารที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2559

บันทึกประจำวันครูกศน.

เข้ากศน.อำเภอเมืองลำปาง  ถ่่ายเอกสารชุดโครงการ ชุดขออนุมัติ และใบเซ็นชื่อผู้เรียนกลุ่มการเลี้ยงไก่ฯ คำสั่ง หนังสือเชิญวิทยากร แนบเอกสารเบิกเงิน
แก้ไขคู่มือมาตรฐาน 3.4 และจัดเรียงเอกสารเข้าตู้พร้อมครูอาสาสมัครกศน.ตำบล

บันทึกประจำวันครูกศน.

วันที่ 21 มีนาคม 2559
เข้ากศน.อำเภอเมืองลำปาง จัดเอกสารงานประกันคุณภาพ พร้อมครูอาสาสมัครฯและเรียงเอกสารขึ้นตู้ มาตรฐานที่ 3.4 และติดตามวัสดุการอบรมงานเศรษฐกิจพอเพียง  ถ่ายเอกสารบัญชีลงเวลาผู้เรียนอาชีพ และติดตามชุดขออนุมัติจากงานสารบัญ และพิมพ์ปกแฟ้มมาตรฐาน 3.4

วันอาทิตย์ที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2559

แผนปฏิบัติการประจำสัปดาห์ครูกศน.ตำบล

แผนปฏิบัติงานครูกศน.พิชัย
ประจำวันที่  วันที่  21-27  มีนาคม  2559
วัน เดือน ปี
รายงาน
พื้นที่ปฏิบัติงาน
หมายเหตุ
    21  มีนาคม 59
-     เข้ากศน.อำเภอเมืองลำปาง
-     นำเสนองานประกันตามมาตรฐาน  
-     ทำเรื่องเบิกเงิน
-      เขียนบันทึกประจำวัน
กศน.อำเภอเมือง
ลำปาง

    22  มีนาคม 59
-     เข้ากศน.ตำบล
-     ทำรายงานกิจกรรมไตรมาส1 ขึ้นระบบ ติดตามพัสดุเพื่อจัดกิจกรรมงานเศรษฐกิจพอเพียง
-   เขียนบันทึกประจำวัน
กศน.ตำบลพิชัย

   23  มีนาคม 59
- เปิดกิจกรรมงานเศรษฐกิจพอเพียงการเพาะเห็ดฟางและการเพาะต้นอ่อนทานตะวัน บ้านทรายใต้ หมู่ 8
- ทำรายงานกิจกรรมไตรมาสขึ้นระบบ
-เขียนบันทึกประจำวัน
หมู่ 8

  24  มีนาคม 59
- เข้ากศน.อำเภอเมืองลำปาง
- ร่วมอบรมระบบสารสนเทศครบวงจร พร้อมครูกศน.ตำบล
-เขียนบันทึกประจำวัน
กศน.อำเภอเมืองลำปาง


  25 มีนาคม 59
-   เข้ากศน.กศน.อำเภอเมืองลำปาง
-   จัดเอกสารงานประกันคุณภาพภายใน ตัวบ่งชี้ที่3
กศน.อำเภอเมืองลำปาง


  26  มีนาคม 59
-   วันหยุด  


27     มีนาคม 59
-   ลงทะเบียนและสอบซ่อมนักศึกษาภาคเรียนที่ 2/2558
กศน.ตำบลพิชัย





บันทึกประจำวันครูกศน.ตำบล

วันหยุด  นิเทศการเรียนการสอนการเลี้ยงไ่กชนสายพันธ์พม่า บ้านวังไชยพัฒนา หมู่ 16 ต.พิชัย อ.เมือง จ.ลำปาง
เข้ากศน.อำเภอเมืองลำปาง ทำสมุดประเมินระดับ.ปลาย กลุ่ม 230010.3

วันเสาร์ที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2559

บันทึกประจำวันครูกศน.ตำบล

วันหยุดจัดกิจกรรม วิเคราะห์บัญชี โครงการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงด้วยกระบวนการบัญชี  บ้านทรายใต้ หมู่ 8 ต.พิชัย วิทยากร คุณศศิธร พันธ์เสนา สำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์จังหวัดลำปาง

บันทึกประจำวันครูกศน.

วันที่ 18 มีนาคม 2559
เข้ากศน.อำเภอเมืองลำปาง ทำเรื่องขออนุมัติจัดกิจกรรมโครงการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงด้วยกระบวนการบัญชี ทำอนุมัติหลักการ คำสั่ง หนังสือเชิญวิทยากร หลักสูตร แผนการสอน ฯลฯ

วันพฤหัสบดีที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2559

บันทึกประจำวันครูกศน.ตำบล



อบรมโครงการสารเทศครบวงจร (การรายงาน)
    ปัญหาของหัวใจระบบทั้งหมด ข้อมูล ตัวเลข ไม่ตรงกัน แบบสอบก่อนการอบรมครู 19 ตำบล
    โคงการหลักหากผารงานครบ ดึมาแนบใส่ข้อด ผ่านงานต้องการตรวจสอบมีกี่กิจกรรม โครงการย่อยของตำบลขึ้นทันที่ เงิน เป้าหมาย ผลเท่าไร ผ่านเข้างาน คลิก http://goo.gl/forms/x5zJRPNkSa
     การรายงานข้อมูล (บันทึกข้อความ)
     1. เรื่อง การขออนุญาตรายงาน
     2. เลือก วันที่รายงาน
     3. ข้าพเจ้า นางสาว...........ขอรายงาน
     4. คำลงท้าย
    การรายงานตามนโยลายของรัฐและเว็บไซด์ทั้งหมด 8 ข้อ พันธกิจ กิจกรรมข้อไหน ตรงอะไร หยิบใส่ได้เลย
   หากไม่เข้าเลย ให้เลือกยัง ไม่เลือกพันธกิจ  ระบุสถานที่จัดกิจกรรม จัดที่ไหน (สามารถตามไปดูได้)
   การเอารูปเข้าไปในระบบ ใช้ 3 รูป โดย   ให้คลุมดำที่ภาพ  เลือก Resize เปิดระบบ และเลือกกิจกรรมที่รายงาน คลิกภาพที่ Resize  ตกลง
    ส่วนที่ 2 การรายงานไตรมส ให้ตำบลรายงานเอง กรอกเอง กดเข้าเพิ่มระบบ (ปรับปรุงเข้าระบบ)
    ส่วนตัวโครงการหลัก  โปรแกรมบริหารสำหรับครู (คลิกเข้าไปกิจกรรมทั้งหมดที่เราสังกัดจะขึ้นระบบทันที เลือกให้ตรงกิจกรรม กดส่ง (จะมีชื่อ โครงการ เป็นตัวสีขาว หากไม่มีโครงการ จะเป็นสีแดง
  ดูETV แนวทางการดำเนินการจัดการศึกษาตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการสึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551
  โดย นายสุรพรษ์ จำจด เลขาธิการ กศน.
          สุทธิณี งามเขตต์  ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านพัฒนาหลักสูตร
           ผอ.นรา เหล่าวิชยา ผอ.กศน.จังหวัดพิษณุโลก
           ผอบุญส่ง ทองเชื่อม ผอ.กศน.อ.เมือง จังหวัดขอนแก่น
            ครูโยธิน พรหมมณี หัวหน้าครูกศน.ตำบลท่าประดู่ อ.นาทวี จ.สงขลา
  1) ทำไมจึงต้องปรับการเรียนการสอน กศ.ขั้นพื้นฐาน
- จากการจัดการศึกษาที่ผ่าน ๆ มา เราไม่ได้จัดการศึกษาโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน ทำให้ประชาชนย้ายถิ่น จากชุมชนชนบทไปชุมชนเมือง ทำให้ชุมชนไม่เข้มแข็ง
- หลักสูตร กศน. 51 มีวิชาเลือกมากเกินไป เป็นปัญหาในการจัดการ
.2) ปรับอย่างไร
- วิชาบังคับจะปรับนิดหน่อย โดยจะวิเคราะห์ว่าเนื้อหาใดที่ “ต้องรู้” แล้วจะแจ้งให้ครูนำไปทำความเข้าใจกับนักศึกษา และในการออกข้อสอบปลายภาคก็จะสอบเฉพาะในเนื้อหาที่ต้องรู้นี้เท่านั้น ซึ่งจะสอดคล้องกับข้อสอบ N-NET ด้วย เพราะจะใช้ผังข้อสอบ ( Test blueprint ) และ คุณลักษณะเฉพาะของข้อสอบ ( Item specification ) เดียวกัน
- วิชาเลือก ปรับโดยแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ เลือกเสรี กับ เลือกบังคับ(ประถม 4 นก., ม.ต้น-ปลาย 6 นก.) วิชาเลือกบังคับ คือ
วิชาพลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน
วิชาการบริหารการเงินหรือเศรษฐศาสตร์ชุมชน
วิชาเลือกเสรี ให้เลือกเป็นโปรแกรมเรียน โดยใช้ชุมชนและผู้เรียนเป็นฐานในการกำหนดโปรแกรมเรียนวิชาเลือกเสรี ( สอดคล้องกับแผนจุลภาค ) เช่น ใช้อาชีพของผู้เรียนเป็นวิชาเลือก ( โปรแกรมการเลี้ยงปลา โปรแกรมการเลี้ยงกบ โปรแกรมขับรถบรรทุก โปรแกรมเสริมสวย โปรแกรมนำเที่ยวท้องถิ่น ) ใน 1 โปรแกรมอาจมี 2 วิชา หรือกี่วิชาก็ได้ที่เกี่ยวข้อง โดยนำอาชีพมาเทียบโอนได้ส่วนหนึ่ง และเรียนเพิ่มเพื่อพัฒนาอาชีพ
ซึ่งสถานศึกษาต้องปรับหลักสูตรสถานศึกษา และผ่านการพิจารณาของคณะกรรมการสถานศึกษา
การวัดผลประเมินผลวิชาเลือกเสรี รวมทั้งสัดส่วนคะแนนระหว่างภาคกับปลายภาคของวิชาเลือกเสรี ให้สถานศึกษากำหนดเอง โดยปรับระเบียบการวัดผลประเมินผลของสถานศึกษา ( อาจวัดผลจากภาคปฏิบัติ ถ้าจะสอบข้อเขียน เน้นให้สอบแบบอัตนัย ข้อเดียวก็ได้ )
โปรแกรมเรียนวิชาชีพเดียวกัน ต้องมีความแตกต่างกันในระดับประถม ม.ต้น ม.ปลาย
สื่อแบบเรียนวิชาเลือกเสรีที่สถานศึกษาพัฒนาขึ้น ให้จังหวัดเป็นผู้ตรวจ
การขอออกรหัสวิชาเลือกเสรี ให้ผ่านการพิจารณาของ สนง.กศน.จังหวัด
.
3) ปรับเมื่อไร
เริ่ม ภาคเรียนที่ 1/59 รับลงทะเบียนตั้งแต่ เม.ย.59 แต่ ภาคเรียนที่ 1/59 ยังพัฒนาโปรแกรมเรียนวิชาเลือกเสรีไม่เสร็จ ให้เรียนเฉพาะวิชาบังคับกับวิชาเลือกบังคับก่อน
( นศ.เก่า สามารถจะเข้าสู่โปรแกรมเรียนใหม่ได้เลย )

นัดหมายการอบรมครั้งต่อไปวันที่ 28 มีค 59
การรีไชด์ภาพ
ผอ. หลังเสร็จสิ้นกิจกรรมขอให้รายงานผลทันที รายงานที่ผ่านเว็บให้เขียนใครทำอะไรที่ไหนอย่างไร ก่อนจะเอาขึ้นให้อ่านและเขียนข้อความก่อนเอาขึ้น   การรายงานถ้าเป็นรูปเล่มมีแนบไฟล์ไหม่ ทำตรงวัตถุประสงค์ กระบวนการเป็นอย่างไร เข้าแนวเศรษฐกิจ 3 ห่วง 2 เงื่อนไข อย่างไร
งานของกลุ่ม หรือห้องสมุด ทุกครั้งที่มีการอบรมให้สรุปด้วย ทุกกิจกรรมให้มีการรายงานด้วย
อ.กฤษณะ จุดสำคัญของรายงาน คือความการรายงาน เพราะเป็นการบรรยายการจัดกิจกรรม ประมาณ 2 หน้า
จากก็เป็นการแสดงความคิดที่ได้จากการอบรมวันนี้ของคณะครูกศน.ตำบลและผู้บริหาร

วันพุธที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2559

บันทึกประจำวันครูกศน.

เข้ากศน.อำเภอเมืองลำปาง จัดเอกสารการประกันคุณภาพตัวบ่งชี้ที่ 3.4 พร้อมครูกศน.ตำบล  ด้านเงินงบประมาณ ด้านบุคลากร บริหารทั่วไป ด้านวิชาการ



วันอังคารที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2559

บันทึกประจำวันครูกศน.ตำบล

เข้ากศน.ตำบลพิชัย ร่วมประชุมคณะกรรมการ ศสปช.ตำบลพิชัย พร้อมคณะกรรมการ จำนวน 10 คน และเจ้าหน้าที่    ของกกต.จังหวัดลำปาง จำนวน 2 ท่าน




เข้ากศน.อำเภอเมืองลำปาง พิมพ์เอกสารการเบิกเงินค่าตอบแทนวิทยากร และค้นเอกสารการประกันคุณภาพภายใน

บันทึกประจำวันครูกศน.

วันที่ 14 มีนาคม 2559
เข้ากศน.อำเภอเมืองลำปาง  ทำสมุดประเมินระดับประถม ค้นเอกสารการประกันคุณภาพภายใน ตัวบ่งชี้ที่ 3.3

แผนปฏิบัติการประจำสัปดาห์ครูกศน.

แผนปฏิบัติงานครูกศน.พิชัย
ประจำวันที่  วันที่  14-20  มีนาคม  2559

วัน เดือน ปี
รายงาน
พื้นที่ปฏิบัติงาน
หมายเหตุ
    14  มีนาคม 59
-     เข้ากศน.อำเภอเมืองลำปาง
-     ทำสมุดประเมินนักศึกษาระดับประถม
-      เขียนบันทึกประจำวัน
กศน.อำเภอเมือง
ลำปาง

    15  มีนาคม 59
-     เข้ากศน.ตำบล
-     ร่วมอบรมคณะกรรมการ ศสปช.ตำบล
-   เขียนบันทึกประจำวัน
กศน.ตำบลพิชัย

   16  มีนาคม 59
- เข้ากศน.อำเภอเมืองลำปาง
- จัดเอกสารงานประกันคุณภาพภายใน ตัวบ่งชี้ที่3
-เขียนบันทึกประจำวัน
กศน.อำเภอเมืองลำปาง

  17  มีนาคม 59
- ลากิจ


  18 มีนาคม 59
-   เข้ากศน.กศน.อำเภอเมืองลำปาง
-   จัดเอกสารงานประกันคุณภาพภายใน ตัวบ่งชี้ที่3
กศน.อำเภอเมืองลำปาง


  19  มีนาคม 59
-   วันหยุด  


20     มีนาคม 59
-วันหยุด